Page 8 - TH Edition Ver3
P. 8
6
ภำษำต้องห้ำมส ำหรับกำรน ำมำใช้โดยทั่วไป ส ำหรับวิวัฒนำกำรของภำษำสันสกฤต ที่เข้ำมำใน
ุ
ประเทศอินเดีย พรหมคุณำภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ได้เขียนไว้ในหนังสือ “กำลำนุกรม : พระพทธศำสนำ
ุ
ในอำรยธรรมโลก” ไว้ในตอนหนึ่งของหนังสือ คือตอนที่ว่ำด้วย “ก่อนพทธกำล อำรยธรรมชมพ ู
ทวีบ” ไว้ว่ำ
ิ
“1500-1200 B.C. (900-600 ปีก่อน พ.ศ.) ชนเผ่ำอำรยันยกจำกที่รำบสูงอหร่ำนหรือเปอร์เซีย
เข้ำมำรุกรำนและครอบครองตลอดลงไปถึงลุ่มแม่น้ ำคงคำ พร้อมทั้งน ำศำสนำพรำหม์ ภำษำสันสกฤต
และระบบวรรณะเข้ำมำด้วย”
ดังนั้น ภำษำที่ใช้ในประเทศอินเดีย โดยเฉพำะในสมัยพุทธกำล นักปรำชญ์ทำงภำษำ ได้แบ่งภำษำ
ในอินเดีย ที่เรียกว่ำภำษำตระกูลอำรยันออกเป็น 3 สมัยคือ
1. ภำษำอำรยันสมัยเก่ำ เป็นภำษำที่ใช้ในคัมภีร์พระเวททั้ง 3 คือ ฤคเวท ยชุรเวท สำมเวท
และอำถรรพเวท และคัมภีร์อปนิษัท ได้แก่ ภำษำสันสกฤต ตัวอกษรที่ใช้คือ ตัวอกษรเท
ั
ั
ุ
วนำครี
2. ภำษำอำรยันสมัยกลำง เป็นภำษำถิ่นที่ใช้กันตำมท้องถิ่นต่ำงๆของประเทศ เรียกว่ำภำษำ
ปรำกฤต ซึ่งเรียกอกชื่อหนึ่งว่ำภำษำกำรละคร เพรำะน ำไปใช้เป็นภำษำพดของตัวละคร บำง
ู
ี
ตัว ในบทละครภำษำสันสกฤต เช่น ภำษำมำคธี (พดในแคว้นมคธ) ภำษำมหำรำษฎร์ ภำษำ
ู
เศำรเสนี ฯลฯ ภำษำบำลีจึงเป็นภำษำอำรยันสมัยกลำง
3. ภำษำอำรยันสมัยใหม่ เป็นภำษำที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน เป็นภำษำที่เชื่อว่ำสืบมำจำกภำษำ
ปรำกฤต ถึงแม้ว่ำลักษณะของภำษำและควำมเข้ำใจ จะแตกต่ำงกันออกไป เนื่องด้วยกำร
คมนำคม กำรติดต่อค้ำขำยท ำให้มีอิทธิพลของภำษำอื่นเข้ำมำปะปน ภำษำอำรยันสมัยใหม่ที่
ั
ิ
ใช้สื่อสำรกันในปัจจุบันได้แก่ ภำษำฮนดี เบงกำลี ปัญจำปี มรำฐี เนปำลี เป็นต้น ตัวอกษรที่
ใช้คือตัวอักษรที่สืบมำจำกตัวอักษรเทวนำครี
จำกกำรสืบสำนทำงประวัติศำสตร์ ภำษำบำลี นับได้ว่ำเป็นภำษำปรำกฤตหนึ่ง ที่มีวิวัฒนำกำรมำ
ุ
ู
จำกภำษำพระเวท ใช้พดกันในแคว้นมคธ เรียกว่ำภำษำมำคธี พระพทธเจ้ำ ได้เลือกภำษำมำคธี
ประกำศศำสนำของพระองค์ โดยมีกำรเรียบเรียงแบบแผนให้เป็นที่เข้ำใจโดยทั่วไป เรียกว่ำ ปำลิ
(แบบแผน) และได้กลำยกำรเรียกชื่อมำเป็น ภำษำปำลิ (ภำษำประกำศพทธศำสนำของพระพทธเจ้ำ)
ุ
ุ
ในที่สุด ในสมัยนั้น แบบแผนของภำษำที่พระองค์ทรงใช้จะมีภำษำ 2 ประเภท ตำมที่นักปรำชญ์ของ
ิ
อนเดียได้ท ำกำรศึกษำไว้ คือประเภทหนึ่ง เป็นภำษำมำคธี ที่ชื่อว่ำ สุทธมำคธี เป็นภำษำของกษัตริย์
ี
หรือภำษำรำชกำร อกประเภทหนึ่งเป็นภำษำ “เทสิยำ” หรือ “ปรำกฤต” เป็นภำษำประจ ำถิ่นของ
แคว้นมคธสมัยนั้น