Page 10 - TH Edition Ver3
P. 10

8


                   4.  สังคำยนำครั้งที่ 4  มีพระสงฆ์ 68,000 รูป มีพระมหินทเถระเป็นประธำนและเป็นผู้ถำม มี

                       พระอริฏฐะเป็นผู้วิสัชนำ ประชุมที่ถูปำรำม เมืองอนุรำชบุรี ของลังกำทวีป เมื่อ พ.ศ.  236
                       โดยพระเจ้ำเทวำนัมปิยติสสะ เป็นศำสนูปถัมภ์ ใช้เวลำ 10 เดือน

                   5.  สังคำยนำครั้งที่ 5  เป็นกำรสังคำยนำเพอจำรึกพระธรรมวินัยลงในใบลำนโดยมีพระอรหันต์
                                                        ื่
                                                       ุ
                       500 รูป ประชุมกัน สวดซ้อมแล้วจำรพทธพจน์ลงในใบลำน ณ อำโลกเลณสถำน มลยชนบท
                       ในลังกำทวีป เมื่อ พ.ศ. 450 โดยพระเจ้ำวัฏฏคำมณีอภัย เป็นศำสนูปถัมภ์


                       ส่วนกำรสังคำยนำที่เกิดขึ้นหลังจำกครั้งที่ 5 กล่ำวคือจัดขึ้นหลังพทธปรินิพพำนอย่ำงน้อย 1
                                                                             ุ
                                                               ุ
                                                                                      ุ
                   ศตวรรษ จนถึงปัจจุบันไม่ถือว่ำเป็นกำรรวบรวมพระพทธพจน์ แต่เน้นกำรรักษำพทธพจน์และค ำ
                   สอนเดิม ที่ได้รวบรวมไว้แล้ว ในหนังสือ พจนำนุกรมศำสน์ ฉบับประมวลศัพท์ ของพระพรหม
                   คุณำภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ได้เขียนไว้ว่ำ “สังคำยนำในยุคหลังสืบมำจำกปัจจุบัน จึงมีควำมหมำยว่ำ

                   เป็นกำรประชุมตรวจช ำระสอบทำน รักษำพระไตรปิฎกให้บริสุทธิ์ หมดจดจำกควำมผิดพลำด
                   คลำดเคลื่อน”


                                               ั
                        เนื่องจำกภำษำบำลีไม่มีตัวอกษรและในสมัยพระเจ้ำอโศก ภำษำปรำกฤตเขียนด้วยอกษร
                                                                                               ั
                             ั
                                                                                      ั
                   พรำหมี ตัวอกษรที่บันทึกคัมภีร์ทำงพทธศำสนำ ที่เป็นภำษำบำลีครั้งแรก คือตัวอกษรสิงหล ของ
                                                  ุ
                   ศรีลังกำ ต่อมำประเทศต่ำงๆที่นับถือพระพทธศำสนำก็ถ่ำยทอดภำษำบำลีจำกพระไตรปิฎกเป็น
                                                       ุ
                                                                          ั
                   ตัวอักษรของประเทศนั้นๆ ปัจจุบันมีหลักฐำนจำรึกภำษำบำลีด้วยอกษรต่ำงๆ เช่น อกษรพรำหมี
                                                                                         ั
                   อักษรเทวนำครี อักษรล้ำนนำ อักษรขอม อักษรไทย อักษรมอญ อักษรโรมัน เป็นต้น

               สำระส ำคัญและกำรจัดหมวดหมู่ของพระไตรปิฎก


                       จำกควำมหมำยส ำหรับพระไตรปิฎกที่สรุปได้ว่ำเป็น  “คัมภีร์ที่บรรจุพทธพจน์ คือค ำสอนของ
                                                                               ุ
               พระพุทธเจ้ำ” ออกเป็นหมวดหมู่ และซักซ้อมกันจนลงตัว แล้วถ่ำยทอดต่อกันมำ จนถึง พ.ศ. 450 จึง
               มีกำรจำรึกลงเป็นลำยลักษณ์อกษร ดังนั้นกำรถ่ำยทอดค ำสอนของพระพทธเจ้ำ ตั้งแต่สมัยพทธกำล
                                         ั
                                                                                            ุ
                                                                            ุ
                                                                          ุ
               จนถึงปัจจุบันนับเป็นเวลำกว่ำ 2500 ปี พระไตรปิฎกซึ่งเป็นคัมภีร์พระพทธศำสนำฝ่ำยเถรวำท จึงเป็น
                                                                        ี
               บันทึกค ำสอนของพระพทธเจ้ำที่เก่ำแก่ ดั้งเดิม และสมบูรณ์ที่สุด อกทั้งยังมีควำมยั่งยืนสืบทอดมำ
                                    ุ
               จนถึงปัจจุบัน”

               ลักษณะตัดสินพระธรรมวินัย



                       ในกำรพจำรณำว่ำ ธรรมหรือค ำสอนใดเป็นค ำสอนพระพทธเจ้ำ หำกในกรณีมีข้อสงสัย ใน
                              ิ
                                                                       ุ
                       กำรศึกษำพระไตรปิฎก ซึ่ง อำจจะเกิดขึ้นในควำมคิดของผู้ศึกษำนั้น ในหนังสือ “ลักษณะ
                       แห่งพระพุทธศำสนำ : Characteristic of Buddhism” ของพระพรหมคุณำภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺ
                       โต) (หน้ำ 2-3) พ.ศ. 2558 ได้อธิบำยไว้ในหัวข้อ “ลักษณะตัดสินธรรมวินัย 8” ไว้ว่ำ
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15