Page 13 - TH Edition Ver3
P. 13
11
ควำมส ำคัญของพระไตรปิฎก
ต่อค ำถำมที่ว่ำ ท ำไมจะต้องมีกำรจัดกำรแปลพระไตรปิฎกค ำต่อค ำ หรือ ท ำไมจะต้องศึกษำ
พระไตรปิฎกทั้งหมด ค ำตอบส ำหรับค ำถำมนี้ จำกกำรศึกษำหนังสือเรื่อง “พระไตรปิฎก : สิ่งที่ชำว
ุ
พทธต้องรู้” โดย พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต) ที่ท่ำนได้อธิบำยถึงควำมส ำคัญของพระไตรปิฎก ใน
ประเด็นต่ำงๆสรุปได้ 3 ประเด็นหลักดังนี้
1. พระไตรปิฎกเป็นที่รักษำพระรัตนตรัย เนื่องจำกพระไตรปิฎกเป็นกำรอธิบำยถึงพระธรรม
ุ
วินัยของพระพทธองค์ ดังนั้นกำรมีพระไตรปิฎกจึงเป็นเสมือนมีศำสดำแทนพระองค์ ดังที่เคยตรัสแก่
พระอำนนท์ก่อนเสด็จปรินิพพำนไว้ว่ำ
“โย โว อำนนฺท มยำ ธมฺโม จ วินโย จ เทเสติ ปญฺญตฺโต โส โว มมจ̣จเยน สตฺถำ
ดูก่อนอำนนท์ แด่เธอทั้งหลำย อันธรรมและวินัยใดที่เรำแสดงแล้วและบัญญัติแล้ว ธรรมและ
วินัยนั้น โดยกำลที่เรำล่วงลับไปแล้ว จักเป็นศำสดำของเธอทั้งหลำย”
จึงเท่ำกับว่ำ พระไตรปิฎกเป็นที่สถิตของพระพุทธเจ้ำ นับได้ว่ำเป็นพระพทธ ในส่วนที่เป็นพระธรรม ก็
ุ
เนื่องจำกพระธรรมวินัย หรือเรียกสั้นๆว่ำ พระธรรม ปรำกฏอยู่ในพระไตรปิฎก กำรมีพระไตรปิฎกจึง
เท่ำกับกำรมีพระธรรม และในส่วนที่เป็นพระสงฆ์ก็เนื่องจำกในพระไตรปิฎก ภิกษุทั้งหลำยบวชขึ้นมำ
และอยู่ได้ด้วยพระวินัยอันเกิดจำกพุทธบัญญัติ ที่ปรำกฏในพระไตรปิฎก
2. พระไตรปิฎกเป็นหลักฐำนในกำรศึกษำเล่ำเรียน ที่ครบองค์ประกอบทั้ง 3 ประกำร ของ
แก่นศำสนำ คือปริยัติ (ค ำสั่งสอนอันจะต้องเล่ำเรียนได้แก่พุทธพจน์) ปฏิบัติ (ปฏิปทำอนจะต้องปฏิบัติ
ั
ั
ได้แก่ อฏฐังคิกมรรคหรือไตรสิกขำ คือ ศีล สมำธิ ปัญญำ) และปฏิเวธ (คือผลอนจะพงเข้ำถึงหรือ
ึ
ั
7
บรรลุด้วยกำรปฏิบัติได้แก่มรรค ผล และนิพพำน )
ุ
ุ
3. พระไตรปิฎกเป็นหลักของพทธบริษัททั้ง 4 คือชำวพทธ 4 กลุ่ม ได้แก่ ภิกษุ ภิกษุณี
ุ
อุบำสกอุบำสิกำ ซึ่งอยู่ในรูปของคัมภีร์ ที่จะต้องเรียนรู้เข้ำใจ เพื่อช่วยกันธ ำรงให้พระพทธศำสนำด ำรง
อยู่ และเกิดประโยชน์ ซึ่งพทธบริษัททั้ง 4 จะต้องเป็นผู้มีคุณสมบัติถูกต้อง ในกำรช่วยจรรโลงพระ
ุ
ศำสนำไว้ โดยที่คุณสมบัติดังกล่ำวได้แก่
ุ
3.1 เป็นผู้มีควำมรู้ควำมเข้ำใจ ในหลักธรรมค ำสอนของพระพทธเจ้ำได้ดีและประพฤติปฏิบัติ
ได้ถูกต้องตำมค ำสอน จึงต้องเรียนรู้จำกพระไตรปิฎก
3.2 เป็นผู้สำมำรถบอกกล่ำว และน ำสั่งสอนผู้อื่น จึงต้องท ำควำมเข้ำใจและประพฤติปฏิบัติ
ให้เป็นตัวอย่ำง ซึ่งจะต้องอำศัยพระไตรปิฎกเป็นฐำนในกำรสร้ำงตนให้เป็นต้นแบบ
7 วินย.อ. 1/264; ม.อ. 3/147,523; องฺ.อ. 3/391