Page 53 - การวจยทางการศกษา v.7_Neat
P. 53
3. การควบคุมการเดา
4. ตัวแปรไม่ชัด ต้องใช้ qualitative น า
กำรสร้ำงเครื่องมือในกำรวิจัย
1.ก าหนดขอบเขตและจุดมุ่งหมายของการสร้าง: วัดอะไร วัดใคร ลักษณะของผู้ถูก
วัดเป็นอย่างไร
2.ระบุเนื้อหา/ตัวแปรที่ต้องการวัด
3.ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับตัวแปรที่ต้องการจะวัด
4.นิยามปฏิบัติการ (operational definition) ตัวแปรที่ต้องการวัด
5.ในกรณีที่ไม่สามารถนิยามตัวแปรให้ชัดเจน ให้เก็บข้อมูลภาคสนาม เพื่อนามา
สร้างข้อคาถาม เช่น การรักความเป็นไทย
6.สร้างตารางโครงสร้างเนื้อหา แจกแจงเนื้อหาที่จะวัดตามนิยามปฏิบัติการของตัว
แปรที่จะวัด
7.เลือกชนิดและรูปแบบคาถาม: เติมคาตอบ เลือกตอบ rating scale (สถิติที่ใช้ใน
การวิจัย)
8. สร้างข้อคาถาม ให้ครอบคลุมเนื้อหาตามตารางโครงสร้างการนิยามตัวแปร
(Definition of Variable)
6.4 กำรตรวจสอบคุณภำพของเครื่องมือ
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือและการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นสิ่งที่
จ าเป็นในการด าเนินการวิจัย เนื่องจากว่าหากเครื่องมือที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมาแล้วไม่ได้ผ่าน
การตรวจสอบคุณภาพก็จะท าให้ไม่สามารถมั่นใจได้ว่างานวิจัย ดังกล่าวจะเป็นงานวิจัยที่
น่าเชื่อถือ เนื่องจากอาจมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเครื่องมือที่สร้างขึ้นต่าง ๆ มากมาย เช่น
ความไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาและโครงสร้างตามที่ต้องการวัดหรือความไม่ชัดเจนของข้อ
ค าถามที่อาจจะท าให้ผู้เก็บข้อมูลและผู้ให้ข้อมูลมีความสับสนและตอบไม่ตรงตามความเป็น
จริงที่ควรจะเป็นซึ่งสิ่งเหล่านี้จัดว่าเป็นสิ่งที่ส าคัญในการด าเนินการวิจัย
การเก็บรวบรวมข้อมูลนั้น ผู้วิจัยต้องรู้จักการวางแผนในการเก็บรวบรวม
ข้อมูลเป็นอย่างดี หากผู้วิจัยไม่ได้วางแผนในการเก็บรวบรวมข้อมูลท าให้มีความสับสนและ
วุ่นวายมาก เนื่องจากการเก็บรวบรวมข้อมูลต้องเกี่ยวข้องกับประเด็นอื่น ๆ ซึ่งเป็น
รายละเอียดปลีกย่อยอีกมากมายที่ผู้วิจัยจะต้องค านึงถึง เนื่องจากในการเก็บข้อมูลนั้นหาก