Page 56 - การวจยทางการศกษา v.7_Neat
P. 56
2.2 การเตรียมการ โดยการติดต่อผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งในการติดต่อ
ผู้เชี่ยวชาญถือว่าเป็นเรื่องที่ส าคัญมาก ๆ เนื่องจากผู้เชี่ยวชาญที่เลือกมานั้น นักวิจัยก็มักจะ
เลือกผู้ที่มีชื่อเสียงเกี่ยวกับเรื่องที่ผู้วิจัยต้องการศึกษา บุคคลเหล่านี้จึงมักจะไม่มีเวลา
เพียงพอให้กับผู้วิจัย ผู้วิจัยจึงต้องติดต่อกับเลขานุการให้ทราบ ชัดเจนถึงเวลาช่วงเวลาที่
ผู้เชี่ยวชาญจะสามารถพิจารณาเครื่องมือให้ได้ เพื่อน าผลที่ได้จากการเสนอแนะของ
ผู้เชี่ยวชาญมาวางแผนในปรับแก้เครื่องมือและเริ่มด าเนินการเก็บข้อมูลต่อไป ทั้งนี้นักวิจัย
ควรจะไปติดต่อผู้ทรงคุณวุฒิด้วยตนเอง
2.3 ส่งเครื่องมือให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบพร้อมทั้งนัดเวลารับคืน
2.4 การเตรียมอุปกรณ์ที่จ าเป็น เช่น การน าเครื่องมือการวิจัยที่
ตรวจสอบ
พิจารณา ใส่ซองให้เรียบร้อย ตลอดจนการตรวจเช็คโปรแกรมข้อมูลคอมพิวเตอร์ให้พร้อม
ในการที่วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตรวจสอบคุณภาพ
2.5 การรวบรวมเครื่องมือที่ได้ส่งไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบกลับคืนมา
โดยควรจะไปรับเครื่องมือด้วยตนเอง แต่หากไม่สามารถที่จะไปรับได้ด้วยตนเองควรติดต่อ
แจ้งให้ผู้เชี่ยวชาญทราบและหาวิธีในการให้ผู้เชี่ยวชาญส่งคืน เช่น ติดต่อเลขานุการของ
ผู้เชี่ยวชาญให้ช่วยเหลือ
เนื่องจากการให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือเป็นการไปขอความช่วยเหลือ
2.6 น าเครื่องมือที่รวบรวมได้มา บรรณาธิการหรือตรวจสอบความครบถ้วน
สมบูรณ์ในการตอบ เพื่อเตรียมที่จะวิเคราะห์ต่อไป
2.7 วิเคราะห์ข้อมูล โดยการน าเครื่องมือที่บรรณาธิกรณ์ แล้วมาบันทึก
ข้อมูลและวิเคราะห์คุณภาพของเครื่องมือตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญและน าเครื่องมือ
2.8 ปรับปรุงข้อค าถามตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ
2.9 จัดท าต้นฉบับของเครื่องมือที่ครบถ้วนสมบูรณ์แล้ว และต้องตรวจทาน
เพื่อพิสูจน์อักษรให้ถูกต้องอีกรอบหนึ่ง
3. กำรน ำเครื่องมือไปทดลองใช้
การน าเครื่องมือไปทดลองใช้ มีวิธีในการด าเนินการดังนี้
3.1 น าเครื่องมือไปทดลองใช้กับกลุ่ม Try Out โดยการคัดเลือกสุ่ม
ตัวอย่าง ผู้วิจัยต้องด าเนินการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างที่มีคุณลักษณะใกล้เคียงกับประชากรที่
ผู้วิจัยเลือกมาศึกษา ทั้งนั้นเพื่อให้แน่ใจว่าบุคคลที่คัดเลือกมาเพื่อ Try Out ข้อมูลกับ
ประชากรที่เราศึกษามีคุณลักษณะที่ใกล้เคียงกันและกลุ่มที่ถูกเลือกมา Try Out ข้อมูล