Page 32 - สปาเพื่อสุขภาพ
P. 32
16
เคล็ดลับในการอบซาวน่า คือ สถานที่ซาวน่าส่วนใหญ่มักจะแยกห้องอบชาย-หญิงอยู่แล้ว
ี
คุณเพยงถอดเครื่องประดับให้หมดทุกชิ้น เข้าไปพร้อมกับผ้าเช็ดตัว 1 ผืน เข้าไปนั่งประมาณ 5-10
นาทีแล้วออกมาล้างตัวด้วยน้้าอณหภูมิปกติ จากนั้นก็กลับเข้าไปใหม่ ท้าซ้้าประมาณ 3 รอบ ไม่ควร
ุ
รับประทานอาหารใดๆ ก่อนอบซาวน่าเป็นเวลา 2 ชั่วโมง หลังการอบซาวน่าควรจิบน้้าสะอาดเข้าไป
เพอทดแทนน้้าที่ออกจากร่างกาย การขัดผิวก่อนเข้าอบซาวน่าจะช่วยให้เซลล์ผิวที่ตายแล้วที่ตกค้าง
ื่
อยู่ในรูขุมขนถูกขับออกไปง่ายขึ้น และผู้ที่เป็นหวัดอยู่ หรือมีโรคประจ้าตัวควรปรึกษาแพทย์ก่อน
(ไทยรัฐออนไลน์, 2561 : ออนไลน์)
ส่วนถ้าพดถึงเรื่อง การอบสมุนไพร เป็นการอบตัวด้วยไอน้้าที่ได้มาจากการต้มสมุนไพรให้
ู
ผิวหนังสัมผัสกับไอน้้าที่มีส่วนผสมของสมุนไพร เป็นวิธีการบ้าบัดอย่างหนึ่งที่ใช้กัน มานานมากแล้ว
คือการใช้ความร้อนบ้าบัดนั่นเอง การอบสมุนไพรเป็นกรรมวิธี ในการรักษาสุขภาพอนามัยแบบ
พนบ้าน เดิมทีการอบสมุนไพรจะใช้ในหมู่สตรีที่ เพงจะคลอดลูก ซึ่งจะต้องอาบน้้าร้อน ดื่มน้้าร้อนที่
ิ่
ื้
ื้
เป็นน้้าต้มสมุนไพร และอยู่ไฟ บนแคร่ไม้ไผ่ที่ปูรองพนด้วยสมุนไพร เช่น ใบหนาด ใบเป้า เป็นต้น หรือ
การนั่ง กระโจม โดยใช้ผ้าท้าเป็นกระโจม หรือนั่งในสุ่มไก่ที่ปิดคลุมไว้มิดชิด และมีหม้อต้ม สมุนไพรที่
ต้มเดือด ท้าให้สามารถอบและสูดดมไอน้้าสมุนไพรได้ผิวหนังเมื่อได้สัมผัส ไอน้้า จะช่วยให้การ
ไหลเวียนของโลหิตดีขึ้น เส้นเลือดฝอยขยายตัว รูขุมขนเปิด เพอขับถ่ายของเสียออกทางผิวหนัง
ื่
บางครั้งจะใช้ควบคู่กับการนวดแผนไทย โดยมากมักใช้หลังการนวดเสร็จแล้ว จะช่วยลดอาการ
ุ
เกร็งตัวของกล้ามเนื้อและ ข้อต่อ นอกจากนี้ยังใช้ในคนไข้ที่ประสบอบัติเหตุหกล้ม รถชน ตกต้นไม้ช้้า
ใน เพื่อ ให้การสูบฉีดโลหิตไปเลี้ยงร่างกายได้สม่้าเสมอ และการอบสมุนไพรถือว่าเป็นการ ช่วยล้างพษ
ิ
ออกทางเหงื่อ ผิวหนังของคนเราจะเป็นส่วนที่กว้างที่สุด ดังนั้น การขับ สารพิษส่วนเกินออกทางเหงื่อ
จึงได้ผลดีมาก เวลาที่ร่างกายทุกส่วนเกิดความร้อนขึ้น พร้อมกันจะท้าให้เส้นเลือดที่ผิวหนังขยายตัว
เลือดก็จะไหลเวียนขึ้นมาที่ผิวหนังเป็น จ้านวนมาก เป็นการขับสารเคมีส่วนเกิน เช่น โซเดียม
ื่
โปตัสเซียม หรือสารอนๆ เป็นต้น ที่เรารับเข้าไปเกินความต้องการออกมากับเหงื่อ และในเวลา
ิ
เดียวกันนั้น นอกจากจะล้างพษออกไปแล้ว เลือดที่มาเลี้ยงที่ผิวหนังมากขึ้น ยังช่วยน้าพาสาร อาหาร
ที่ดีๆ มาให้ผิวหนัง ผิวหนังจึงสวยขึ้นได้ การอบสมุนไพรมี2 แบบ คือ การอบแห้ง (Sauna) คล้ายการ
อยู่ไฟและการอบเปียก (Steam) ที่คนไทยนิยมมากในปัจจุบัน (ส้านักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย
กระทรวงสาธารณสุข, 2555 : 6)
โรคหรืออาการที่สามารถบ้าบัดรักษาด้วยการอบสมุนไพร
1. โรคภูมิแพ้ที่ไม่รุนแรง
2. เป็นหวัด น้้ามูกไหล แต่ไม่มีการแห้งตันของน้้ามูก
3. อัมพฤกษ์อัมพาต ในระยะเริ่มแรก
4. ปวดเมื่อยตามร่างกายทั่วๆไป หรือโรคที่ไม่ได้เป็นการเจ็บป่วยเฉพาะที่มีการ
เจ็บป่วยหลายต้าแหน่ง
5. เป็นโรคหอบหืด ในระยะที่ไม่มีอาการรุนแรง