Page 104 - หลักสูตรนักบริหารมหานครระดับกลาง รุ่นที่ 26...
P. 104

92






                                                        สภาพภายนอกองค์กร
                                   โอกาส (Opportunities)                   อุปสรรค/ภัยคุกคาม (Threats)
                        O๓ เป็นยุคที่มีการเรียนรู้ผ่านสื่อออนไลน์หรือโซ  T๔ การให้บริการฟรี WiFi ในพื้นที่ ยังไม่
                        เชียล มีเดีย เช่น Facebook , line , youtube เป็น ทั่วถึง ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร

                        ต้น ทำให้ ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร
                        เรียนรู้ผ่านสื่อ ออนไลน์ได้เพิ่มมากขึ้น


                       ตาราง 3.3 สรุปผลการวิเคราะห์ปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกองค์กร
                                                        สภาพภายในองค์กร

                                    จุดแข็ง (Strengths)                     จุดอ่อน (Weaknesses)
                        O๔ ปัจจุบันเป็นยุคสมัยของเทคโนโลยีและการ
                        สื่อสาร รวมทั้งมีการพัฒนาเครือข่ายอินเตอร์เน็ต

                                                ิ่
                        ที่ทันสมัยใน ชีวิตประจำวันเพมมากขึ้น

                       4. การลงพื้นที่ศึกษาและวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล

                              การลงพื้นที่เก็บรวบรวมข้อมูล กำหนดรายละเอียดและพื้นที่ รวมทั้งรายละเอียดในการเก็บ
                       ข้อมูล ดังนี้

                                     4.1  ใช้วิธีการสัมภาษณ์ เพื่อสอบถามการปฏิบัติงานและปัญหาอุปสรรคจากผู้
                       ให้บริการตาม โครงการ คือห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้กรุงเทพมหานครบางพื้นที่ หอสมุดเมืองของ
                       กรุงเทพมหานคร และหอสมุด แห่งชาติ เพื่อศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับสถิติผู้ใช้บริการ การพัฒนาองค์กร

                       ปัญหาอุปสรรคและความต้องการ เปลี่ยนแปลง
                                     4.2 แบบสอบถามความคิดเห็นของประชาชนในการ ความคิดเห็นของประชาชนใน

                       พื้นที่ กรุงเทพมหานครทั้ง 50 เขต เกี่ยวกับการใช้งานห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้กรุงเทพมหานคร โดย
                       ใช้แบบสอบถาม ออนไลน์ (Google Form) มีผู้ตอบแบบสอบถามรวมทั้งสิ้นจำนนวน 281 คน ผล

                       ปรากฏ ดังนี้
                                            (1) การรับรู้ว่าในพื้นที่ที่อาศัยอยู่มีห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้หรือไม่ ร้อยละ

                       44.80 รู้มีว่ามี ร้อยละ 27.8 รู้ว่าไม่มี และร้อยละ 27.4 ไม่แน่ใจ
                                            (2) จำนวนการใช้บริการห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ร้อยละ 23.5 เคยใช้
                       ร้อยละ 38.1 เคย ใช้แต่ไม่บ่อย และ ร้อยละ 38.4 ไม่เคยใช้

                                            (3) ความสำคัญของห้องสมุดต่ออาชีพ การศึกษา และชีวิตประจำวัน ร้อยละ
                       47.1 มีความสำคัญมาก ร้อยละ 40.4 มีความสำคัญปานกลาง และร้อยละ 12 มี ความสำคัญน้อย

                                            (4) ความสะดวกในการใช้บริการห้องสมุดปัจจุบันร้อยละ 56.9 สะดวก
                       ร้อยละ 23.1 ไม่สะดวก และร้อยละ 19.9 ไม่มีความเห็น
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109