Page 41 - รายงานสำรวจและจัดทำแผนผังถ้ำ เขตอุทยานแห่งชาติภาคใต้
P. 41

33




                   พบซากดึกดำบรรพ์ฟูซูลินิด (Pseudofusulina sp.) ฟองน้ำ รอยชอนไช และฟันปลาฉลาม
                   (Helicampodus sp.) มีอายุอยู่ในยุคเพอร์เมียนตอนกลาง หรือประมาณ 273-259 ล้านปีมาแล้ว












                                                          (ก)                                        (ข)









                                                           (ค)                                       (ง)









                                                          (จ)                                        (ฉ)


                   รูปที่ 3.10 ประติมากรรมถ้ำภายในถ้ำบัวโบก อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะอ่างทอง
                          (ก) ลักษณะปากถ้ำที่ถ่ายจากในถ้ำย้อนออกไปยังปากถ้ำ หรือเรียกว่า ลายเซ็นถ้ำบัวโบก
                          (ข) หลุมยุบ และกองหินถล่ม ปากถ้ำทิศตะวันตก บริเวณ A3
                          (ค) กองหินถล่ม หินย้อยลักษณะคล้ายบัวคว่ำ ม่านหินย้อย และทำนบหินปูน บริเวณ B1

                          (ง) หินน้ำไหล หินย้อย ม่านหินย้อย และเสาหิน ผนังด้านขวาบริเวณระหว่าง A7-B1
                          (จ) หินน้ำไหล ผนังด้านซ้ายบริเวณระหว่าง B4-B5
                          (ฉ) หินน้ำไหล และม่านหินย้อย ผนังด้านซ้ายบริเวณระหว่าง B6-B7
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46