Page 120 - คู่มือติดต่อราชการฯ ภ.2
P. 120
107
5
สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
ประวัติความเป็นมา
ก่อน รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวประเทศไทยยังไม่มีองค์กรกลางด้านการ
ร่างกฎหมายโดยเฉพาะโดยปกติแล้วพระมหากษัตริย์จะทรงมีพระราชดํารัสให้อาลักษณ์เป็นผู้ร่างกฎหมาย
ขึ นตามพระราชประสงค์ เมื ออาลักษณ์ดําเนินการเสร็จก็จะนําขึ นทูลเกล้าฯถวายเพื อทรงตรวจแก้ด้วย
พระองค์เอง แล้วจึงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศใช้บังคับเป็นเรื องๆไป
ต่อมา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ตรา
"พระราชบัญญัติเคาน์ซิลออฟสเตดคือที ปฤกษาราชการแผ่นดิน" ขึ น ในปีพ.ศ. ๒๔๑๗เพื อเป็นองค์กรถวาย
คําปรึกษาแก่พระองค์ในการบริหารราชการแผ่นดิน การร่างกฎหมายและการพิจารณาเรื องที ราษฎรได้รับ
ความเดือดร้อนซึ งอํานาจหน้าที ขององค์กรดังกล่าวคล้ายคลึงกับ Conseil d'Etat หรือ Council of State
ของกลุ่มประเทศภาคพื นทวีปยุโรป
ใน รัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ประเทศไทยจําเป็นต้องปฏิรูประบบกฎหมายและ
การศาลให้เป็นสากล เพื อใช้เป็นเหตุผลในการแก้ไขสนธิสัญญาสิทธิสภาพนอกอาณาเขตที ประเทศไทยทําไว้
กับต่างประเทศ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ตั งคณะกรรมการร่างประมวลกฎหมายต่างๆ ขึ นหลายคณะ
เพื อร่างกฎหมายอย่างสากล และต่อมาทรงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ตั ง "กรมร่างกฎหมาย"
สังกัดกระทรวงยุติธรรม ขึ นในปี พ.ศ. ๒๔๖๖ใน เพื อให้การชําระประมวลกฎหมายและร่างกฎหมายอื นๆ
เป็นระบบมากยิ งขึ น เมื อมีการเปลี ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ.๒๔๗๕ กรมร่างกฎหมายได้ไปขึ นตรงต่อ
"คณะกรรมการราษฎร์" เพื อความสะดวกในการดําเนินการออกกฎหมาย และในปีต่อมาได้มีการตรา
พระราชบัญญัติว่าด้วยคณะกรรมการกฤษฎีกา พุทธศักราช ๒๔๗๖ เพื อจัดตั ง "คณะกรรมการกฤษฎีกา"
ขึ นตามแนวทางของสถาบันที ปฤกษาราชการแผ่นดินในสมัยรัชกาลที ๕และ Conseil d'Etat ของประเทศ
ภาคพื นทวีปยุโรป โดยองค์กรดังกล่าวจะทําหน้าที ร่างกฎหมายและให้ความเห็นทางกฎหมายแก่รัฐบาลและ
หน่วยงานของรัฐแทนกรมร่างกฏหมาย รวมทั งมีอํานาจพิจารณาเรื องที ราษฎรได้รับความเสียหายจากการ
กระทําตามหน้าที ของเจ้าหน้าที ของรัฐหรือคดีปกครองด้วย เพื อให้คณะกรรมการกฤษฎีกา ปฏิบัติหน้าที ได้
อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ กฎหมายดังกล่าวได้จัดตั ง "สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา" ขึ นเพื อทํา
หน้าที เป็นหน่วยธุรการของคณะกรรมการกฤษฎีกาในปี พ.ศ. ๒๕๒๒ ได้มีการตราพระราชบัญญัติ
5 สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา http://www.krisdika.go.th/web/guest/background