Page 121 - คู่มือติดต่อราชการฯ ภ.2
P. 121

108



               คณะกรรมการกฤษฎีกา พ.ศ. ๒๕๒๒ ขึ นเพื อปรับปรุงการจัดองค์กร อํานาจหน้าที และกลไกในการปฏิบัติ

               หน้าที ของคณะกรรมการกฤษฎีกาและสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาให้มีความเหมาะสมยิ งขึ น อนึ ง

               อํานาจของคณะกรรมการกฤษฎีกาในการพิจารณาเรื องที ราษฎรได้รับความเสียหายจากการกระทําตรา

               หน้าที ของเจ้าหน้าที ของรัฐหรือคดีปกครองได้รับการพัฒนาตลอดมาจนในที สุดได้โอนไปเป็นอํานาจของศาล

               ปกครองเมื อมีการจัดตั งศาลปกครองขึ นในปี พ.ศ.๒๕๔๒


                                                                   6
               คณะกรรมการกฤษฎีกากับความรับผิดชอบต่อประชาชน

                      ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยคณะกรรมการกฤษฎีกา คณะกรรมการกฤษฎีกามีอํานาจหน้าที คล้าย

               เป็นที ปรึกษากฎหมายของฝ่ายบริหาร โดยมีอํานาจหน้าที ในการ

                      ( ) จัดทําร่างกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับหรือประกาศตามคําสั งของนายกรัฐมนตรีหรือมติของ


               คณะรัฐมนตรี

                      ( ) รับปรึกษาให้ความเห็นทางกฎหมายแก่หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือตามคําสั งของ

               นายกรัฐมนตรีหรือมติของคณะรัฐมนตรี และ


                      ( ) เสนอความเห็นและข้อสังเกตต่อคณะรัฐมนตรีเกี ยวกับการให้มีกฎหมายหรือแก้ไขปรับปรุง หรือ

               ยกเลิกกฎหมาย


                      แต่เป็นที น่าสังเกตว่า การแก้ไขเพิ มเติมพระราชบัญญัติคณะกรรมการกฤษฎีกา พ.ศ.

               สองครั งสําคัญคือในปี      สมัยรัฐบาลอานันท์ ปันยารชุน และในปี      สมัยรัฐบาลพลเอก สุรยุทธ์
               จุลานนท์ ซึ งเป็นรัฐบาลที เกิดขึ นภายหลังจากรัฐประหารและฝ่ายข้าราชการประจํากลับมามีอํานาจกํากับ

               ควบคุมรัฐเหนือฝ่ายการเมือง ส่งผลในเชิงเพิ มอํานาจให้แก่คณะกรรมการกฤษฎีกาอย่างสําคัญและ

               เพิ มระดับความเป็นอิสระจากฝ่ายบริหารให้มากขึ น


                      ในการแก้ไขเพิ มเติมกฎหมายในปี      ได้เปิดช่องให้คณะกรรมการกฤษฎีกาสามารถเสนอความ

               คิดเห็นให้มีการทบทวนหลักการของร่างกฎหมายได้ กระทั งสามารถใช้ดุลยพินิจในการปรับปรุงแก้ไข

               หลักการของร่างกฎหมายได้เองด้วย แม้ว่าจะต้องรายงานต่อคณะรัฐมนตรีเพื อพิจารณาวินิจฉัยต่อไป





               6  บทบาทของคณะกรรมการกฤษฎีกาในกระบวนการนิติบัญญัติไทย  https://tdri.or.th/2012/11/law-council/
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126