Page 122 - คู่มือติดต่อราชการฯ ภ.2
P. 122
109
(มาตรา ทวิ) คณะกรรมการกฤษฎีกาจึงมีอํานาจในการใช้ดุลยพินิจในการพิจารณาร่างกฎหมายเพิ มมาก
ขึ น จนก้าวล่วงไปสู่การกําหนดนโยบายผ่านการปรับปรุงแก้ไขหลักการและสาระสําคัญของกฎหมาย
แม้ว่าคณะรัฐมนตรีจะยังคงอํานาจตัดสินใจในขั นสุดท้ายว่าจะยอมรับร่างกฎหมายที ผ่านการแก้ไข
ของคณะกรรมการกฤษฎีกาหรือไม่ก็ตาม แต่หากคณะกรรมการกฤษฎีกาได้แก้ไขหลักการและสาระสําคัญ
ของร่างกฎหมายมากเสียจนต้นทุนในการแก้ไขปรับปรุงใหม่สูงมาก หรือคณะรัฐมนตรีเองไม่มีความต้องการ
ที ชัดเจนและเป็นเอกภาพ คณะกรรมการกฤษฎีกาย่อมมีพื นที ในการใช้ดุลยพินิจมาก
นอกจากนั น ในการแก้ไขเพิ มเติมกฎหมายในปี พ.ศ. ยังมีการเพิ มเติมบทบัญญัติเกี ยวกับ
คณะกรรมการพัฒนากฎหมาย ซึ งมีอํานาจเสนอขอแก้ไขกฎหมายที มีความจําเป็นต้องได้รับการแก้ไข
ปรับปรุง เช่น มีลักษณะจํากัดเสรีภาพของบุคคลหรือไม่สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล เป็นต้น และมี
อํานาจเสนอร่างกฎหมายใหม่ที จําเป็นต้องมี เช่น กฎหมายเพื อคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนหรือเป็น
ประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและการบริหารราชการ เป็นต้น โดยคณะกรรมการพัฒนา
กฎหมายสามารถดําเนินการศึกษาวิจัยและจัดทํารายงานพร้อมร่างกฎหมายที เกี ยวข้องเสนอคณะรัฐมนตรี
เพื อพิจารณาต่อไปได้ ในแง่นี คณะกรรมการกฤษฎีกาจึงไม่ได้มีบทบาทเพียง ‘ตั งรับ’ หรือเฝ้ารอการ
พิจารณาร่างกฎหมายที ส่งมาจากฝ่ายบริหารเท่านั น แต่คณะกรรมการกฤษฎีกาสามารถมีบทบาทเชิง ‘รุก’
ในการเสนอขอแก้ไขกฎหมายหรือเสนอร่างกฎหมายที คิดว่ามีความจําเป็นได้
ที ผ่านมา คณะกรรมการกฤษฎีกามีบทบาทในการช่วยพัฒนาคุณภาพร่างกฎหมายหลายฉบับให้ดี
ขึ นทั งในแง่เนื อหาและรูปแบบภายใต้หลักการและสาระสําคัญที กําหนดมาจากฝ่ายบริหาร แต่สําหรับร่าง
กฎหมายหลายฉบับ คณะกรรมการกฤษฎีกาได้ใช้ดุลยพินิจในการแก้ไขหลักการและสาระสําคัญของ
ร่างกฎหมายจนแตกต่างไปจากร่างเดิมที ผ่านการพิจารณาจากคณะรัฐมนตรี ซึ งบางฉบับฝ่ายบริหารก็ไม่
ยอมรับการแก้ไขของคณะกรรมการกฤษฎีกาและให้กลับไปใช้ร่างเดิมของคณะรัฐมนตรี ในบางกรณี
คณะกรรมการกฤษฎีกาเลือกที จะจํากัดการใช้ดุลยพินิจของตน โดยเสนอทางเลือกในการแก้ไขปรับปรุง
ร่างกฎหมายเป็นสองแนวทางให้คณะรัฐมนตรีเป็นผู้เลือกเอง นอกจากนั น คณะกรรมการกฤษฎีกาอาจ
เลือกใช้ดุลยพินิจผ่านช่องทางการค้างพิจารณาร่างกฎหมายหรือการ ‘ดองร่าง’ ในกรณีที ไม่เห็นด้วยกับ
หลักการและสาระสําคัญของร่างกฎหมายอย่างยิ งหรือในกรณีที ไม่มีความชัดเจนในเชิงนโยบายจาก
ฝ่ายบริหารจนยากที จะทํางานต่อจนแล้วเสร็จ