Page 125 - คู่มือติดต่อราชการฯ ภ.2
P. 125
112
แต่ในหมวดที ว่าด้วยคณะกรรมการกฤษฎีกา ซึ งกล่าวถึงอํานาจหน้าที และกระบวนการในการจัดทํา
ร่างกฎหมายและการรับปรึกษาให้ความเห็นทางกฎหมายแก่หน่วยงานของรัฐ และภาคที ว่าด้วยสํานักงาน
คณะกรรมการกฤษฎีกา ไม่มีเนื อความตอนใดที กล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างคณะกรรมการกฤษฎีกา
และสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกากับภาคประชาสังคมเลย
โดยทั วไป การพิจารณาร่างกฎหมายของคณะกรรมการกฤษฎีกาและสํานักงานคณะกรรมการ
กฤษฎีกาจะเชิญผู้แทนหน่วยงานที เกี ยวข้องกับร่างกฎหมายนั นมาชี แจงประกอบการพิจารณา แต่ผู้แทน
ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื นๆ ที ไม่ใช่หน่วยงานราชการ เช่น ตัวแทนภาคประชาชน แทบจะไม่มีโอกาสได้เข้า
ชี แจงในชั นนี ทําให้การตรวจพิจารณาร่างกฎหมายภายในของรัฐบาลมีอคติคล้อยตามภาคราชการเป็นหลัก
และมีลักษณะอนุรักษนิยมสูง โดยเฉพาะอย่างยิ ง เมื อองค์ประกอบของคณะกรรมการกฤษฎีกาส่วนใหญ่เป็น
อดีตข้าราชการประจําระดับสูง ผู้มีประสบการณ์ในการบริหารราชการแผ่นดินภาครัฐ ขณะที ภาคประชาชน
สาขาต่างๆ ไม่มีตัวแทนอยู่ในคณะกรรมการกฤษฎีกาเลย จะมีบ้างก็เพียงอาจารย์คณะนิติศาสตร์จาก
มหาวิทยาลัยจํานวนไม่มาก ปัญหาอคติคล้อยตามภาคราชการในกระบวนการพิจารณาร่างกฎหมาย
ในชั นคณะกรรมการกฤษฎีกาก็ยิ งมากขึ น
หากคณะกรรมการกฤษฎีกามีความเป็นอิสระจากฝ่ายบริหารเช่นในปัจจุบัน จําเป็นต้องมีการ
ออกแบบระบบความผิดชอบที เหมาะสม ให้องค์กรอิสระอื นๆ และสาธารณชนสามารถร่วมตรวจสอบ
และกํากับการทํางานของคณะกรรมการกฤษฎีกาได้มากขึ น เช่น การมีข้อกําหนดให้มีกระบวนการรับฟัง
ความคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในขั นตอนการพิจารณาร่างกฎหมายในชั นคณะกรรมการกฤษฎีกา
(ไม่ใช่เฉพาะในขั นตอนที เกี ยวข้องกับคณะกรรมการพัฒนากฎหมายเท่านั น) การเปิดโอกาสให้มีตัวแทน
ภาคประชาสังคมที มีคุณสมบัติเหมาะสมอันเป็นประโยชน์แก่การปฏิบัติหน้าที ของคณะกรรมการกฤษฎีกา
ในคณะกรรมการกฤษฎีกา เป็นต้น
ทางออกที สําคัญอีกประการหนึ งคือ การเพิ มระดับความโปร่งใสในการทําหน้าที ของคณะกรรมการ
กฤษฎีกาและสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เช่น การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารเกี ยวกับร่างกฎหมายที อยู่
ระหว่างการพิจารณา รวมถึงรายงานการประชุมของคณะกรรมการกฤษฎีกาทุกชุด ให้สามารถสืบค้นได้
โดยง่ายผ่านทางเว็บไซต์ เป็นต้น