Page 123 - คู่มือติดต่อราชการฯ ภ.2
P. 123

110



                      ส่วนการแก้ไขเพิ มเติมกฎหมายในปี พ.ศ.      นั น มีความสําคัญในแง่การเปลี ยนแปลงที มาของ

               คณะกรรมการกฤษฎีกา จากเดิมที คณะรัฐมนตรีให้คําแนะนําเพื อให้พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั ง มาเป็น การ

               คัดเลือกจากกระบวนการภายในของคณะกรรมการกฤษฎีกาเอง โดยเริ มต้นจากสํานักงานคณะกรรมการ

               กฤษฎีกาดําเนินการคัดเลือกรายชื อผู้มีคุณสมบัติในจํานวนที เหมาะสม เสนอต่อคณะกรรมการคัดเลือก ซึ ง

               ประกอบด้วยประธานกรรมการกฤษฎีกาแต่ละคณะรวม    คณะ ความสัมพันธ์ระหว่างคณะกรรมการ
               กฤษฎีกากับฝ่ายบริหารจึงเหลือเพียงการแจ้งผลการคัดเลือกเพื อให้นายกรัฐมนตรีนําความกราบบังคมทูล


               เพื อทรงแต่งตั งต่อไปเท่านั น

                      อีกประเด็นหนึ งที สําคัญคือการกําหนดให้ประธานกรรมการกฤษฎีกาแต่ละคณะไม่มีวาระการดํารง

               ตําแหน่ง จากเดิมที มีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละ   ปี ซึ งหมายความว่า ผู้ดํารงตําแหน่งประธาน

               กรรมการกฤษฎีกาแต่ละคณะสามารถดํารงตําแหน่งได้ต่อเนื องไปตลอดชีวิต จนกว่าจะตาย ลาออก

               หรือมีคุณสมบัติต้องห้ามอื นๆ นอกจากนั น ยังมีการกําหนดตําแหน่งนักกฎหมายกฤษฎีกาโดยให้ได้รับเงิน

               เพิ มสําหรับตําแหน่งในอัตราที ไม่ตํ ากว่าค่าตอบแทนของข้าราชการอัยการอีกด้วย

                      หากคณะกรรมการกฤษฎีกามีอํานาจในการใช้ดุลยพินิจพิจารณาร่างกฎหมายสูง ซึ งหลายครั งส่งผล

               กระทบในเชิงนโยบายของฝ่ายบริหาร เช่น การแก้ไขหลักการและสาระสําคัญของกฎหมายบางฉบับอาจ

               ทําให้การดําเนินนโยบายบางประการของรัฐบาลเปลี ยนแปลงไปหรือรัฐบาลไม่สามารถดําเนินนโยบาย

               บางประการได้ คณะกรรมการกฤษฎีกาก็ควรมีความสัมพันธ์เชื อมโยงกับองค์กรที ใช้อํานาจอธิปไตยอย่าง

               ฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติในระดับหนึ ง


                      ตัวอย่างของการเชื อมโยงเชิงอํานาจระหว่างคณะกรรมการกฤษฎีกากับฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติ
               บัญญัติ ได้แก่ ฝ่ายบริหารอาจมีส่วนร่วมในการพิจารณาคัดเลือกคณะกรรมการกฤษฎีกาด้วยในบางระดับ

               เพื อยกระดับระบบความรับผิดชอบ (accountability) ของคณะกรรมการกฤษฎีกา เช่น ให้ที ประชุมประธาน

               กรรมการกฤษฎีกาดําเนินการคัดเลือกกรรมการกฤษฎีกาจากบัญชีรายชื อผู้มีคุณสมบัติเหมาะสมตาม

               กฎหมายที สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเสนอมาในจํานวนเป็น   เท่าของจํานวนกรรมการกฤษฎีกา

               ทั งหมด แล้วให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาคัดเลือกให้เหลือเท่ากับจํานวนกรรมการกฤษฎีกาทั งหมด หรือให้
               นายกรัฐมนตรีในฐานะประธานคณะกรรมการกฤษฎีกามีบทบาทในคณะกรรมการคัดเลือกร่วมกับประธาน

               กรรมการกฤษฎีกาแต่ละคณะ หรือให้กรรมการกฤษฎีกาได้รับการรับรองจากรัฐสภาเช่นเดียวกับตําแหน่ง
   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128