Page 401 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 401

๓๘๘







                                                          ิ
                                                                                     ื่
                     ส่วนประกอบของชีวิตทางสังคม สร้างความอสระเดินทาง ท่าให้เข้ากับกลุ่มเพอนหรือร่วมกิจกรรมทาง
                                                    ื่
                     สังคม เป็นหัวข้อการสนทนาในวงเพอน ท่าให้เป็นจุดเด่นที่ใช้ดึงดูดเพอนและเพศตรงข้าม เป็นเรื่อง
                                                                                ื่
                                                                                             1
                     ท้าทาย เป็นสัญลักษณ์ของศักดิ์ศรี เป็นที่ระบายความเบื่อ ความเหงา และความโกรธ  ปัจจัยเหล่านี้
                     ท่าให้การใช้รถจักรยานยนต์ของวัยรุ่นมีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว และก่อให้เกิดปัญหาอบัติเหตุ ปัญหา
                                                                                              ุ
                     สังคม และปัญหาเกี่ยวกับกฎหมายเพมขนตามมาเนื่องจากลักษณะการใช้รถจักรยานยนต์ของคนกลุ่มนี้
                                                    ิ่
                                                      ึ้
                     ไม่ได้ตอบสนองความจ่าเป็นขั้นพนฐานในเรื่องการเดินทางเพยงอย่างเดียว แต่เป็นไปเพอตอบสนอง
                                                 ื้
                                                                                               ื่
                                                                         ี
                     ความต้องการทางอารมณและความรู้สึก ซึ่งเกิดจากแรงผลักดันของปัจจัยทางจิตวิทยา จึงท่าให้ลักษณะ
                                          ์
                     การใช้งานรถจักรยานยนต์ของคนกลุ่มนี้เบี่ยงเบนไปจากการใช้งานในชีวิตประจ่าวันตามปกติ เช่น การ
                                        ื่
                     ขับขี่รถจักรยานยนต์เพอแข่งขันบนท้องถนน ใช้ความเร็วสูงกว่าที่กฎหมายก่าหนด ขับขี่ที่โลดโผน แซง
                     และเปลี่ยนช่องจราจรไปมา ขาดความรู้เรื่องกฎจราจร การขับขี่ปลอดภัย และค่านึงถึงความเดือดร้อน
                     ของผู้อื่นน้อยมาก

                            แม้การกระท่าความผิดตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ จะถือเป็นความผิด

                     อาญาแผ่นดิน (Crimes Against Public) เพราะเป็นการกระท่าอันเป็นการละเมิดต่อปทัฏฐานของสังคม
                     ในเรื่องของการควบคุมเพอให้เกิดความปลอดภัยในชีวิต ร่างกายและทรัพย์สินสาธารณะซึ่งเป็นของ
                                           ื่
                     สมาชิกของสังคมโดยตรง โดยถือว่ารัฐคือเหยื่อ (Victims) ของการกระท่าความผิดและเป็น “ผู้เสียหาย”

                                          ่
                     (Injure Person) ที่จะมีอานาจในการด่าเนินคดีในส่วนอาญากับผู้กระท่าความผิด พนักงานอยการ
                                                                                                     ั
                                            ้
                     เท่านั้นที่จะมีอานาจในการฟองร้องและด่าเนินคดีกับผู้กระท่าความผิด แต่การกระท่าดังกล่าวก่อให้เกิด
                                 ่
                     ความเสียหายต่อชีวิต ร่างกายหรือทรัพย์สินของผู้อน พระราชบัญญัติทั้งสองฉบับนี้มิได้ก่าหนดโทษ
                                                                 ื่
                             ่
                     ในทางแพงเพื่อให้ผู้กระท่าความผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนต่อผู้ได้รับความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย หรือ
                                                                                                ้
                     ทรัพย์ที่เป็นของเอกชนโดยตรง กรณีจึงเป็นเรื่องที่เอกชนผู้ได้รับความเสียหายจะต้องฟองผู้กระท่า
                     ความผิดโดยอางประมวลกฎหมายอาญา ประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความอาญา และประมวล
                                 ้
                                                                             ิ
                                                                    ้
                     กฎหมายแพงและพาณิชย์ แล้วแต่กรณี ประกอบการฟองร้องด้วยตามแต่พฤติการณ์ของคดีและการ
                               ่
                     กระท่าความผิดครั้งนั้น ๆ  ท่าให้พระราชบัญญัติจราจรทางบก หรือพระราชบัญญัติรถยนต์กลายเป็น
                     กฎหมายที่มีแต่การบัญญัติฐานความผิดทางอาญา แม้จะก่าหนดโทษปรับไว้ด้วย แต่โทษปรับดังกล่าว

                                                                                ่
                     ก็เป็นการลงโทษทางอาญาสถานหนึ่งเท่านั้น ไม่มีการบัญญัติโทษทางแพงส่าหรับการกระท่าเดียวกันแต่
                                                              ื่
                     มีผลกระทบต่อชีวิต ร่างกายหรือทรัพย์สินของผู้อนไว้โดยตรง ท่าให้ผู้เสียหายต้องเรียกร้องค่าสินไหม

                     * น.บ. (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย), น.บ.ท.
                            1 สุรางค์ศรี ศีตมโนชญ์ และคณะ, รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการการพัฒนารูปแบบการแก้ไขปัญหาการ

                     เสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรอย่างมีส่วนร่วมโดยอาศัยทรัพยากรและศักยภาพในพื้นที่วงรอบที่ ๓ จังหวัดภูเก็ต, สืบค้นเมื่อ
                     ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๔ จาก https://www. Rodsafetythai.org/uploadfiles/ACC_54013pdf www.
                     Rodsafetythai.org/uploadfiles/ACC_54013pdf
   396   397   398   399   400   401   402   403   404   405   406