Page 404 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 404
๓๙๑
ุ
จากรายงานสถานการณ์ความปลอดภัยทางถนนพบว่าทั่วโลกมีผู้เสียชีวิตจากอบัติเหตุทางถนนหลาย
ี
ล้านคน และบาดเจ็บอกหลายล้านคนต่อปี จากข้อมูลการเฝ้าระวังของกระทรวงสาธารณสุขพบว่า
รถจักรยานยนต์เป็นยานพาหนะที่เกิดการบาดเจ็บและเสียชีวิตสูงสุด
ขนาดของปัญหาอุบัติเหตุจราจรประกอบด้วย
๑) การตาย (Mortality) อบัติเหตุและการบาดเจ็บเป็นสาเหตุการตายของเด็กวัยรุ่น เป็น
ุ
อุบัติเหตุยานยนต์ทางบก (Motor Vehicle Traffic Injuries) เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มอายุอื่นพบว่ากลุ่ม
วัยรุ่นอายุ ๑๕-๑๙ ปี และกลุ่ม ๒๐-๒๔ ปี มีความเสี่ยงต่อการตายจากอบัติเหตุรวม และอบัติเหตุ
ุ
ุ
ุ
ยานยนต์ทางบกสูงกว่ากลุ่มอน ๆ ในแต่ละปีจะมีเด็กวัยรุ่น ๑๕-๑๙ ปี ตายจากอบัติเหตุยานยนต์
ื่
ทางบก ๒,๐๐๐ รายต่อปี จากการส่ารวจผู้ขับขี่บนท้องถนนพบว่าเด็กวัยรุ่นอายุ ๑๐-๑๙ ปี เป็นผู้ขับขี่
รถยนต์ และรถจักรยานยนต์
ุ
๒) การบาดเจ็บ (Morbidity) สถาบันการแพทย์ด้านอบัติเหตุและสาธารณภัยรายงานการ
บาดเจ็บจากอบัติเหตุขนส่ง (Transport Injuries) ทั่วประเทศ ๙๘๔,๘๕๒ ราย การตาย ๑๕,๑๕๔ ราย
ุ
คิดเป็นร้อยละ ๗ ผู้บาดเจ็บคิดเป็นร้อยละ ๓๐ ในจ่านวนนี้ร้อยละ ๑๘ เป็นกลุ่มวัยรุ่นอายุ ๑๐-๑๙ ปี
๓) ปัจจัยเสี่ยงที่ส่าคัญในวัยรุ่น
ปัจจัยเสี่ยงส่าคัญในการเกิดอุบัติเหตุยานยนต์ในวัยรุ่นคือ
(๑) วัยรุ่นเป็นนักขับมือใหม่ (Novice Driver) ขาดประสบการณ์ในการขับขี่ (The Lack of
Driving) การขับขี่เป็นกระบวนการที่ซับซ้อนที่ต้องอาศัยทั้งความรู้ ความสามารถของประสาท และการ
ตัดสินใจที่ดี วัยรุ่นมักมีความสามารถในการรับรู้และตอบสนองอนตรายน้อย ความสามารถในการ
ั
ควบคุมเครื่องยนต์ไมดี การคาดประมาณความเร็วที่ใช้และระยะทางที่ควรหยุดไม่เหมาะสม นอกจากนั้น
่
ยังมีการตัดสินใจไม่ดีพอในการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากการขับขี่ในสภาพที่แท้จริง
บนท้องถนน ด้วยเหตุนี้การให้ศึกษาในเรื่องทฤษฎีในการขับขี่อย่างเดียวอาจท่าให้วัยรุ่นได้รับใบขับขี่แต่
ไม่สามารถท่าให้วัยรุ่นบรรลุคุณสมบัติผู้ขับขี่ที่ดีและขับขี่อย่างปลอดภัยได้อย่างแท้จริง
ั
(๒) วัยรุ่นมักมีพฤติกรรมเสี่ยงอนตราย (Risk Taking Behaviour) เนื่องมาจากแรงผลักดัน
ภายในให้เกิดความต้องการที่จะเสี่ยง (Risk Homeostasis) ในระดับหนึ่งของวัยรุ่นซึ่งสูงกว่ากลุ่มวัยอน
ื่
อาจมีแรงเสริมจากอารมณ์ แรงผลักดันจากเพอนและความเครียดอน ๆ พฤติกรรมเสี่ยงอนตรายพบได้
ั
ื่
ื่
ในสถานการณ์การขับขี่ปกติเช่น การขับขี่ด้วยความเร็วสูง ผาดโผน การแซงกระชั้นชิด การเบรกในระยะ
ประชิด การเลี้ยวตัดหน้า เลือกขับขี่ในสถานการณ์ท้าทายต่าง ๆ อาทิ ขับแข่งขัน ขับโลดโผน ขับรถ
กลางคืน โดยเห็นว่าการกระท่าดังกล่าวเป็นกิจกรรมที่ต้องใช้ความสามารถเฉพาะตัวบุคคลอื่นไม่สามารถ
ุ
ลอกเลียนแบบได้ คนที่ประสบอบัติเหตุคือคนที่ไม่รู้ว่าตนเองก่าลังท่าอะไร ความสามารถเฉพาะตัว