Page 402 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 402

๓๘๙







                                                            ื่
                     ทดแทนโดยอาศัยสิทธิเรียกร้องตามกฎหมายอนประกอบด้วย และพระราชบัญญัตินี้อาจไม่สอดคล้อง
                     หรือมีลักษณะขัดแย้งกับกฎหมายที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ ดังกล่าว อันเป็นเหตุท่าให้ไม่สามารถลงโทษทางแพง ่
                     ต่อผู้กระท่าความผิดได้อย่างเหมาะสม และผู้เสียหายไม่ได้รับการเยียวยาความเสียหายอีกด้วย

                            ในบทความนี้ จึงจะกล่าวถึงพระราชบัญญัติรถยนต์ พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๓ (๑) และ

                     มาตรา ๔๖ (๑) ที่ก่าหนดว่าใบอนุญาตขับรถจักรยานยนต์ส่วนบุคคลชั่วคราวต้องมีอายุไม่ต่่ากว่าสิบห้าปี
                                                                                           ่
                     บริบูรณ์  ซึ่งบุคคลที่มีอายุตามหลักเกณฑ์นี้ยังถือว่าเป็น “ผู้เยาว์” ในทางกฎหมายแพง แม้ผู้ได้รับความ
                     เสียหายทางอาญาดังกล่าวจะสามารถฟองเป็นคดีละเมิดแก่ตัวผู้ขับขี่ซึ่งเป็นผู้เยาว์ บิดามารดา
                                                         ้
                                                                  ื่
                                                                                            ี
                                                               ่
                     ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลผู้เยาว์ในขณะนั้นเป็นคดีแพงเพอเรียกค่าสินไหมทดแทนเป็นอกคดีต่างหากได้
                                                                 ื่
                     แต่ปัญหาที่เกิดขึ้นโดยส่วนใหญ่แล้ว การยื่นค่าร้องเพอเรียกค่าสินไหมทดแทนจากผู้เยาว์นั้น ผู้เสียหาย
                                                      ิ
                     มักยื่นค่าร้องตามประมวลกฎหมายวิธีพจารณาคดีอาญา มาตรา ๔๔/๑ ต่อศาลเยาวชนและครอบครัว
                     ซึ่งแม้ทั้งคดีส่วนอาญาและคดีส่วนแพงอาจด่าเนินควบคู่กันไปพร้อม ๆ กัน แต่หากในคดีส่วนอาญามีการ
                                                   ่
                                              ้
                                 ิ
                                                                            ิ
                     น่ามาตรการพเศษแทนการฟองคดีหรือมาตรการพเศษแทนการพพากษาคดีมาใช้ในการปรับเปลี่ยน
                                                                ิ
                     ความประพฤติของจ่าเลยแทนการลงโทษ และเมื่อจ่าเลยปฏิบัติตามมาตรการดังกล่าวและศาลมีค่าสั่ง
                     จ่าหน่ายคดีจากสารบบความ โดยขณะเดียวกันในคดีส่วนแพงก็อาจมีการก่าหนดค่าเสียหายไว้เป็นเงิน
                                                                       ่
                     จ่านวนหนึ่งซึ่งอาจมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความร้ายแรงแห่งละเมิดตามหลักกฎหมายแพง ด้วยการตกลง
                                                                                             ่
                     หรือท่าสัญญาประนีประนอมยอมความโดยอาจช่าระคราวเดียว หรือผ่อนช่าระหลายคราว ซึ่งระยะเวลา
                     ในการผ่อนช่าระค่าเสียหายดังกล่าวอาจนานกว่าการด่าเนินคดีอาญา เมื่อคดีส่วนอาญาศาลมีค่าสั่ง

                                                                             ้
                     จ่าหน่ายคดีออกจากสารบบความแล้วท่าให้สิทธิน่าคดีอาญามาฟองระงับไป และโดยหลักของการ
                                                        ่
                     ยื่นค่าร้องตามมาตรา ๔๔/๑ คดีในส่วนแพงก็ย่อมตกไปด้วย จึงเกิดปัญหาตามมาว่ามีความเป็นไปได้สูง
                                                              ่
                     ที่ฝ่ายจ่าเลยจะไม่ผ่อนช่าระค่าเสียหายในส่วนแพงต่อไปตามสัญญาประนีประนอมยอมความ ครั้นจะ
                     บังคับคดีในส่วนแพงต่อไปผู้เยาว์ก็ไม่มีทรัพย์สินใดจะให้ผู้เสียหายบังคับคดีเพอชดใช้ค่าเสียหายที่เหลือ
                                     ่
                                                                                     ื่
                                                                                                     ่
                     และจะไปเรียกร้องจากบิดามารดาหรือผู้ปกครองของผู้เยาว์ก็ไม่ได้เพราะมิใช่คู่ความในคดีส่วนแพง  แม้
                                                                                                      ่
                                                                                       ่
                     ผู้เสียหายอาจน่าคดีส่วนแพงนี้ไปฟองบิดามารดาหรือผู้ปกครองใหม่ในศาลที่มีอานาจช่าระคดีแพง คดี
                                                  ้
                                            ่
                                                                                                         ่
                     ก็จะขาดอายุความแล้วเพราะเกินก่าหนด ๑ ปี ตามมาตรา ๔๔๘ วรรคสอง แห่งประมวลกฎหมายแพง
                     และพาณิชย์ เพราะผู้เสียหายเสียเวลาไปกับการด่าเนินคดีในศาลเยาวชนและครอบครัว อกทั้งการน่าคดี
                                                                                              ี
                     ไปฟองใหม่ท่าผู้เสียหายต้องรับภาระค่าใช้จ่ายในการด่าเนินคดี เช่น ค่าทนายความ ค่าธรรมเนียมศาล
                        ้
                     ซึ่งบางครั้งค่าว่าจ้างทนายความให้ด่าเนินคดีอาจจะสูงกว่าหรือพอ ๆ กับค่าสินไหมทดแทนที่ผู้เสียหาย
                     จะได้รับ ท้ายที่สุดผู้เสียหายอาจไม่ได้รับการชดใช้เยียวยาตามระยะเวลาที่สมควร หรือบางครั้งอาจไม่ได้

                     รับค่าสินไหมทดแทนใด ๆ เลย  เมื่อเป็นเช่นนี้ จึงเป็นการสมควรที่ต้องกลับไปพจารณาถึงต้นตอของ
                                                                                         ิ
                     ปัญหาที่เกี่ยวกับความเหมาะสมในการก่าหนดอายุของผู้มีสิทธิได้รับใบอนุญาตขับรถจักรยานยนต์ส่วน

                     บุคคลชั่วคราวตามพระราชบัญญัติรถยนต์ พ.ศ. ๒๕๒๒ ทั้งนี้โดยค่านึงว่าผู้มีสิทธิได้รับใบอนุญาตขับขี่
   397   398   399   400   401   402   403   404   405   406   407