Page 407 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 407
๓๙๔
ั
เห็นได้ว่าไม่สามารถขับรถได้ ไม่มีโรคประจ่าตัวที่ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมเห็นว่าอาจเป็นอนตราย
ั่
ื
ขณะขับรถ ไม่เป็นบุคคลวิกลจริตหรือจิตฟนเฟอน ไม่มใบอนุญาตขับรถชนิดเดียวกันอยู่แล้ว และไม่เป็น
ี
ผู้อยู่ในระหว่างถูกยึดหรือเพกถอนใบอนุญาตขับรถ ผู้ขอใบอนุญาตขับรถต้องได้รับใบอนุญาตมาแล้ว
ิ
ี
ุ
ไม่น้อยกว่าหนึ่งปี มีคณสมบัติและไม่มลักษณะต้องห้ามและไม่เคยต้องค่าพิพากษาถึงที่สุดให้ลงโทษหรือ
ถูกเจ้าพนักงานเปรียบเทียบปรับตั้งแต่สองครั้งขึ้นไป
ส่าหรับความผิดเกี่ยวกับการขับรถอย่างใดอย่างหนึ่งคือ ฝ่าฝืนสัญญาณจราจรหรือ
ื่
เครื่องหมายจราจร ขับรถขณะเมาสุราหรือของเมาอย่างอนในลักษณะกีดขวางการจราจร ใช้ความเร็ว
เกินอตราที่กฎหมายก่าหนด โดยประมาทหรือน่าหวาดเสียวอนอาจเกิดอนตรายแก่บุคคลหรือทรัพย์สิน
ั
ั
ั
้
่
และโดยไมค่านึงถึงความปลอดภัยหรือความเดือดร้อนของผู้อื่น เว้นแต่จะพนโทษครั้งสุดท้ายไม่น้อยกว่า
6
หกเดือนแล้ว
๒.๓ ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ในแง่นิติศาสตร์ประกอบกับแง่ประวัติศาสตร์กฎหมาย แบ่งยุคของกฎหมายได้ ๓ รูปแบบคือ
๑) ยุคกฎหมายชาวบ้าน (Volksrecht) กฎหมายยุคนี้เป็นกฎเกณฑ์ความประพฤติที่ปรากฏ
ออกมาในรูปของขนบธรรมเนียมจารีตประเพณี เริ่มจากกฎเกณฑ์ประเพณีง่าย ๆ ที่ตกทอดกันมาแต่
โบราณที่เรียกว่า “กฎหมายที่ดีของบรรพบุรุษ” ในยุคนี้ยังไม่สามารถแยกว่าศีลธรรมขนบธรรมเนียม
ประเพณีกับกฎหมายได้ว่าแตกต่างกนอย่างไร ในสมัยต่อมาจึงค่อย ๆ วิวัฒนาการเป็นระบบกฎหมายที่
ั
สลับซับซ้อนขึ้น
๒) ยุคกฎหมายนักกฎหมาย (Juristenrecht) หรือหลักกฎหมาย ในสังคมการเมืองที่มีการ
ปกครองอย่างแท้จริง ซึ่งมีกระบวนการยุติธรรมหรือกระบวนการรักษาความเป็นธรรมอย่างเป็น
้
กิจจะลักษณะเพื่อแกปัญหาที่เกิดขึ้นในคดีที่สลับซับซ้อน เมื่อตัดสินคดีไปหลายคดีข้อที่เคยปฏิบัติในการ
ิ่
ิ
พจารณาคดีก็จะมีเพมขึ้นเรื่อย ๆ กฎเกณฑ์ที่เกิดขึ้นใหม่นี้เราเรียกว่ากฎเกณฑ์ที่เป็นกฎหมายของ
นักกฎหมาย เป็นกฎเกณฑ์ที่ใช้เหตุผลทางกฎหมาย (Juristic Reason) แตกต่างไปจากกฎหมาย
ั
ื่
ประเพณีหรือกฎหมายชาวบ้าน โดยถูกพฒนาขึ้นมาเพอตอบสนองความต้องการของสังคม ในปัจจุบัน
ื่
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย์และกฎหมายอน ๆ หากน่าประมวลกฎหมายมาพเคราะห์ให้ถ่องแท้
ิ
่
จะเห็นได้ว่าแม้ในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย์ฉบับปัจจุบันก็ยังมีตัวบทที่มีต้นตอมาจากกฎหมาย
่
นักกฎหมายอยู่ไม่น้อย เช่น เรื่องสิทธิเรียกร้องขาดอายุความ เรื่องการครอบครองปรปักษ์ เป็นต้น
6 ณฐนนท ทวีสิน, มานะ มะเซิง, ความเข้าใจพระราชบัญญัติรถยนต์ พ.ศ. ๒๕๒๒ หมวด ๑ (การจดทะเบียน
เครื่องหมายและการใช้รถ) หมวด ๓ (ใบอนุญาตขับรถ) และหมวด ๔ (บทก่าหนดโทษ) ของข้าราชการต่ารวจชั้นสัญญาบัตร
งานจราจร สถานีต่ารวจนครบาลพหลโยธิน, สารนิพนธ์หลักสูตรรัฐประศาสนศาตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยทองสุข พ.ศ.
๒๕๕๗, สืบค้นเมื่อ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๖๔ จาก http://www.bangkok.go.th