Page 410 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 410
๓๙๗
๔) คุ้มครองป้องกันสาธารณชนจากความไม่สะดวกสบายต่าง ๆ รวมทั้งใช้สภาพบังคับทาง
อาญาเพื่อเก็บรวบรวมภาษีอากร
๕) เพื่อป้องกันรักษาไว้ซึ่งสถาบันทางสังคม
๖) เพื่อบังคับใช้วิธีการต่าง ๆ ที่จะท่าให้วัตถุประสงค์ทั้งหลายเหล่านี้บรรลุผล
๒.๔.๓ ผู้เสียหายในคดีอาญา
10
ผู้เสียหาย (Victim) ในคดีอาญา หมายถึง บุคคลผู้ได้รับความเสียหายเนื่องจากการ
ื่
ก่ออาชญากรรมหรือการกระท่าความผิดอาญาฐานใดฐานหนึ่ง รวมทั้งบุคคลอนที่มีอานาจจัดการแทน
่
11
ผู้เสียหายได้ ผู้เสียหายตามกฎหมายจ่าแนกได้เป็น ๓ ประเภทคือ
๑) ผู้เสียหายโดยตรง
ผู้เสียหายโดยตรงคือ ผู้ที่ได้รับความเสียหายหรือผลกระทบโดยตรงจากการกระท่า
12
ความผิดอาญานั้น
๒) ผู้เสียหายโดยปริยาย
ผู้เสียหายโดยปริยาย หรือผู้มีอ่านาจจัดการแทนผู้เสียหายที่กฎหมายก่าหนดให้มี
้
อานาจฟองร้องด่าเนินคดีแทนผู้เสียหายโดยตรงได้ เนื่องจากผู้เสียหายโดยตรงไม่สามารถด่าเนินคดีได้
่
่
ด้วยตนเอง เช่น บิดา มารดา หรือผู้ปกครองซึ่งมีอานาจจัดการแทนผู้เยาว์ ผู้อนุบาลซึ่งมีอานาจจัดการ
่
13
แทนบุคคลวิกลจริตที่ศาลมีค่าสั่งให้เป็นบุคคลไร้ความสามารถ ผู้แทนนิติบุคคล เป็นต้น
๓) ผู้เสียหายในกรณีพิเศษ
ผู้เสียหายในกรณีพิเศษ คือ บุคคลที่กฎหมายก่าหนดให้ถือว่าเป็นผู้เสียหาย เช่น บิดา
มารดา คู่สมรส หรือบุตรของผู้เสียหายในความผิดฐานหมิ่นประมาทที่ได้เสียชีวิตไปก่อนที่ผู้เสียหายจะ
ได้ร้องทุกข์ ซึ่งตามประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความอาญาให้ถือว่าบุคคลดังกล่าวเป็นผู้เสียหาย
ิ
สามารถฟ้องร้องด่าเนินคดีในฐานะผู้เสียหายได้
๒.๕ กฎหมายแพ่งว่าด้วยบุคคล และความสามารถของบุคคล
ค่าว่า “บุคคล” ในทางนิติศาสตร์ นั้น หมายถึง ผู้ซึ่งสามารถมีสิทธิในทางกฎหมายได้ และ
ในขณะเดียวกันก็ต้องมีหน้าที่ตามกฎหมายบัญญัติไว้ด้วย โดยทั่วไปได้แก่ มนุษย์ หรือที่เรียกว่า บุคคล
ธรรมดา (Natural Person) ต่อมาเมื่อสังคมมนุษย์เจริญขึ้นท่าให้บุคคลธรรมดาจ่าต้องรวมกันเข้าเป็น
กลุ่มบุคคลหรืองกองทรัพย์สิน เพอด่าเนินกิจการในนามของตนเอง กฎหมายจึงจ่าเป็นต้องบัญญัติ
ื่
รับรองสถานะในทางกฎหมาย ตลอดจนสิทธิและหน้าที่ของกลุ่มบุคคลหรือกองทรัพย์สินนั้นไว้ โดย
10 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๒ (๔).
11 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๔.
12 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๕.
13 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๖ วรรคหนึ่ง.