Page 415 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 415
๔๐๒
26
ขาดความระมัดระวัง หรือโทษได้ว่าเด็กกระท่าไปโดยมีความรับผิด (Fault) อย่างหนึ่งอย่างใดได้
ในกรณีเช่นนี้ไม่อาจถือได้ว่าการกระท่าของเด็กไร้เดียงสาผู้นั้นเป็นการท่าละเมิด เช่นที่ปรากฏในข่าวว่า
เด็กอายุ ๓ ขวบ หยิบปืนใต้หมอนของบิดาไปเล่นยิงเด็กด้วยกันจนเด็กอนถึงแก่ความตาย ดังนี้
ื่
จะเรียกว่าเด็กท่าละเมิดโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อไม่ได้ ผู้ที่ประมาทเลินเล่อคือบิดาที่มิได้เก็บของ
ั
อนตรายไว้ในที่ห่างมือเด็กจนเกิดเป็นอนตรายขึ้น ในท่านองเดียวกัน หากกคนวิกลจริตหรือผู้ที่ศาลสั่ง
ั
ให้เป็นคนไร้ความสามารถ กระท่าการในภาวะที่ไม่รู้ผิดชอบ คือไม่เข้าใจผลแห่งการกระท่าของตน
การกระท่าของเขาย่อมไม่อาจเรียกได้ว่าจงใจหรือประมาทเลินเล่อ และหากก่อให้เกิดความเสียหายขึ้น
ย่อมไม่เป็นการละเมิด ท่านองเดียวกันคนวิกลจริตที่กระท่าการโดยรู้ส่านึกและโดยจงใจหรือประมาท
เลินเล่อเป็นเหตุให้ผู้อื่นเสียหายก็ต้องรับผิดเพื่อการท่าละเมิดนั้น ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๔๒๙ ที่วางหลักว่า “บุคคลใดแม้ไร้ความสามารถเพราะเหตุเป็นผู้เยาว์หรือวิกลจริตก็ยังต้องรับผิด
ในผลที่ตนท่าละเมิด” ที่ว่าไร้ความสามารถนั้น ในที่นี้ควรเข้าใจว่าหมายถึง ไร้ความสามารถในการ
ท่านิติกรรม ซึ่งเป็นคนละเรื่องกับความสามารถในการท่าละเมิด ผู้ที่สามารถท่าละเมิดแล้วไม่ว่าผู้เยาว์
่
หรือคนวิกลจริต หากท่าละเมิดก็ต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแกผู้เสียหายเช่นเดียวกับบุคคลทั่วไป
27
นั่นเอง
๒.๖.๓ ความรับผิดในการกระท าของบุคคลอื่น
กฎหมายละเมิดมุ่งคุ้มครองความปลอดภัยของชีวิต ร่างกาย อนามัย เสรีภาพ และสิทธิ
ต่าง ๆ ของบุคคลให้ได้รับการชดใช้ความเสียหายที่เหมาะสม ไม่ได้มุ่งน่าผู้กระท่ามาลงโทษทางอาญา
ดังนั้น ขอบเขตในการก่าหนดผู้ต้องรับผิดจึงกว้างขวางกว่าทางอาญา แต่ต้องมีความเกี่ยวพันตามสมควร
ั
กับบุคคลอื่นนั้นที่ท่าให้เขาต้องเข้าไปร่วมรับผิดชอบด้วย เช่น กรณีนายจ้างกบลูกจ้าง นายจ้างย่อมเลือก
ลูกจ้างมาท่างานให้กับตน แต่ต้องท่าตามค่าสั่งที่ถูกจ้างมา หากลูกจ้างไม่ดีแล้วนายจ้างยังคงจ้างอยู่
ื่
กฎหมายก็ถือเอาว่าเป็นการยอมรับความเสี่ยงที่ลูกจ้างจะไปท่ากับบุคคลอน “ในทางการที่จ้าง”ด้วย
แม้ลูกจ้างจะได้กระท่าโดยประมาทกตาม
็
28
ว่าโดยทั่วไป ความสามารถของบุคคลผู้ท่าละเมิดไม่เป็นข้อส่าคัญ แม้ผู้เยาว์หรือผู้วิกลจริตก็ยัง
ต้องรับผิด เพราะการละเมิดเป็นการล่วงสิทธิ ไม่ใช่การใช้สิทธิ จึงไม่เกยวกับความสามารถ บุคคลเหล่านี้
ี่
ิ
ย่อมท่าให้ความเสียหายให้แก่บุคคลอื่นโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อได้ ซึ่งต้องพเคราะห์ตามหลักทั่วไป
ตามมาตรา ๔๒๐ ค่าว่า “บุคคลไร้ความสามารถ” ตามมาตรา ๔๒๙ หมายถึงผู้เยาว์และบุคคลวิกลจริต
26 เสนีย์ ปราโมช, ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยนิติกรรมและหนี้ เล่ม ๑ แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.
๒๕๐๕, (กรุงเทพมหานคร : ส่านักพิมพ์นิติบรรณการ, ๒๕๒๐), หน้า ๖๑๙.
27 กิตติศักดิ์ ปรกติ, เรื่องเดียวกัน, หน้า ๖๓-๖๕.
ี่
28 ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ, สังคมกับกฎหมาย พิมพ์ครั้งท ๔, (กรุงเทพมหานคร : ส่านักพิมพ์วิญญูชน,
๒๕๕๕), หน้า ๑๑๗-๑๒๐.