Page 418 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 418
๔๐๕
๓. การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๔๔/๑ ของ
33
ผู้เสียหายในคดีอาญา
เมื่อมีการกระท่าความผิดอาญาเกิดขึ้น การกระท่าเดียวกันนั้นมักจะก่อให้เกิดสิทธิเรียกร้อง
่
่
ในทางแพงด้วย เพราะการกระท่าผิดทางอาญาที่เป็นการกระท่าละเมิดด้วยนั้น ประมวลกฎหมายแพง
และพาณิชย์ มาตรา ๔๒๐ ก่าหนดให้ผู้ท่าละเมิดต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนตามมาตรา ๔๓๘ วรรคสอง
ื่
ได้แก่ (๑) การคืนทรัพย์ที่ผู้เสียหายต้องเสียไปเพราะละเมิด (๒) การใช้ราคาทรัพย์ (๓) ค่าเสียหายเพอ
ความเสียหายอย่างใด ๆ ที่เกิดขึ้น
ิ
เดิมประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความอาญา มาตรา ๔๓ ได้ให้ความคุ้มครองผู้เสียหาย
ั
ในคดีอาญาเพื่อให้เกิดความสะดวกใน ๒ ลักษณะ คือ (๑) ก่าหนดให้สามารถฟ้องคดีแพงที่เกี่ยวเนื่องกบ
่
่
ิ
้
คดีอาญาที่ศาลซึ่งพจารณาคดีอาญาโดยรวมไปฟ้องคดีอาญา หรือฟ้องที่ศาลในคดีแพง โดยแยกฟองเป็น
ี
34
ั
อกคดีหนึ่งก็ได้ (๒) ก่าหนดให้อยการที่ฟองคดีอาญาสามารถเรียกร้องสิทธิในทางแพงแทนผู้เสียหาย
้
่
ก็ได้ แต่การใช้สิทธิแทนผู้เสียหายดังกล่าวมีข้อจ่ากัด ๒ ประการคือ (ก) ประเภทคดีที่อยการจะใช้สิทธิ
ั
เรียกร้องทางแพงแทนผู้เสียหายในคดีอาญานั้นจ่ากัดไว้แต่เฉพาะความผิดเกี่ยวกับทรัพย์บางประเภท
่
ื่
เท่านั้น ไม่รวมความผิดอน ๆ ด้วย (ข) สิทธิเรียกร้องนั้นจ่ากัดไว้แต่เฉพาะการเรียกทรัพย์คืน หรือเรียกให้
ใช้ราคาทรัพย์เท่านั้น จะเรียกร้องสิทธิอื่น ๆ ไม่ได้ เช่น การเรียกร้องค่าเสียหาย
โดยผลของมาตรา ๔๓ นี้เอง หากผู้เสียหายในคดีอาญาประสงค์จะเรียกค่าเสียหายหรือ
ื่
เรียกร้องสิทธิประการอนที่มิได้เกิดจากความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ตามที่ก่าหนดไว้ ก็ตกเป็นภาระของ
ผู้เสียหายในคดีอาญาที่จะต้องด่าเนินการเองซึ่งมีค่าใช้จ่ายมาก เช่น ค่าจ้างทนาย ค่าธรรมเนียมศาล
ดังนั้น เพอให้เป็นไปตามหลักการในการคุ้มครองผู้เสียหายตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งก่าหนดให้รัฐต้องให้ความ
ื่
คุ้มครองบุคคลซึ่งเป็นผู้เสียหายในคดีอาญา มาตรา ๔๔/๑ ที่เพมเข้ามาโดยพระราชบัญญัติแก้ไข
ิ่
ประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความอาญา (ฉบับที่ ๒๔) พ.ศ. ๒๕๔๘ จึงเป็นการคุ้มครองผู้เสียหายในคดีอาญา
ิ
มากขึ้น โดยก่าหนดให้สิทธิผู้เสียหายในคดีอาญามีสิทธิเรียกร้องเอาค่าสินไหมทดแทนได้กว้างกว่า
มาตรา ๔๓ ดังนี้
๓.๑ คู่ความในคดีส่วนแพ่ง
๑) คดีที่ผู้เสียหายในคดีอาญามีสิทธิจะเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนได้แก่ ความผิดที่ท่าให้
ผู้เสียหายได้รับอนตรายแก่ชีวิต ร่างกาย จิตใจ หรือได้รับความเสื่อมเสียต่อเสรีภาพในร่างกาย ชื่อเสียง
ั
หรือทรัพย์สิน
33 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๔๔/๑.
34 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๔๐.