Page 414 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 414

๔๐๑







                                                                                                 ื่
                                                                                                  22
                     ดูแลไม่ทั่วถึง ได้แก่กรณีดูแลผู้เยาว์ หรือบุคคลวิกลจริตไปกระท่าความเสียหายให้แก่ผู้อน  ความ
                                           23
                                                                                           24
                     เสียหายที่เกิดขึ้นเพราะสัตว์  ความเสียหายที่เกิดจากสิ่งปลูกสร้างหรือทรัพย์อันตราย
                                   ๒.๖.๑ วัตถุประสงค์ของกฎหมายลักษณะละเมิด
                                                                                                  ื่
                                   การที่กฎหมายให้บุคคลต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเพอการละเมิดก็เพอควบคุม
                                                                                     ื่
                     ให้บุคคลท่าหน้าที่ของตนเพอแสดงความเคารพในสิทธิของผู้อื่น การท่าผิดหน้าที่จึงต้องชดใช้ค่าเสียหาย
                                            ื่
                     หลักการส่าคัญของกฎหมายละเมิดเริ่มโดยสันนิษฐานว่าโจทก์เป็นผู้ทรงสิทธิอนเกี่ยวกับความปลอดภัย
                                                                                     ั
                     ในชีวิต ร่างกาย อนามัย เสรีภาพ ทรัพย์สิน หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดโดยจ่าเลยเป็นผู้กระท่าละเมิด

                     ท่าให้จ่าต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้โจทก์ ซึ่งโดยปกติต้องเกิด “ผล” เป็นความเสียหายขึ้นแล้ว
                     อย่างไรก็ตาม ในบางกรณีแม้ยังไม่เกิดผลเสียหายขึ้นกฎหมายละเมิดก็คุ้มครองได้ เช่น หากโรงเรือน

                                                        ื่
                     สิ่งปลูกสร้าง รวมถึงต้นไม้หรือกอไผ่ของผู้อนจะฟงหรือโค่นลงมาท่าความเสียหายให้แก่โจทก์ในอนาคต
                                                              ั
                                ่
                     อันใกล้ ย่อมกอให้เกิดสิทธิแก่โจทก์ที่จะด่าเนินการให้เกิดความปลอดภัยแก่ตอนเองได้โดยไม่ได้ต้องรอให้
                     เกิดความเสียหายขึ้นก่อน มาตรการดังกล่าวเป็นการส่งเสริมการควบคุมพฤติกรรมของบุคคลให้มีหน้าที่

                                                                                                    ื่
                     ระมัดระวัง และรับผิดชอบต่อการกระท่าที่จะก่อให้เกิดความเสียหายอนเป็นการละเมิดต่อผู้อน ส่วน
                                                                                 ั
                     ความเสียหายที่ไม่อาจค่านวณเป็นเงินได้ เช่น พยายามฆ่าโดยกระสุนไม่ถูกร่างกาย ไม่บาดเจ็บ ไม่มี
                                                                                  ุ่
                     ค่ารักษาพยาบาล ความตกใจ ความเศร้าโศกเสียใจจากการขาดความอบอนในครอบครัว เพราะสมาชิก
                     ถูกท่าละเมิด ความชอกช้่าระก่าใจที่ถูกข่มขืนกระท่าช่าเราหรืออนาจาร ฯลฯ
                               ๒.๖.๒ การท าละเมิดของผู้เยาว  ์

                                                          25
                               ความสามารถในการท่าละเมิด นั้น ได้แก่ความสามารถในการที่จะกระท่าโดยจงใจหรือ
                                           ื่
                     ประมาทเลินเล่อให้บุคคลอนเสียหาย บุคคลที่จะท่าละเมิดได้จึงต้องมีความสามารถที่จะกระท่าการโดย
                                                                                                        ื่
                     รู้ส่านึกและต้องประสงค์ต่อผล หรือเล็งเห็นผลจากการกระท่าของตนว่าจะก่อความเสียหายแก่บุคคลอน
                     หรือกระท่าโดยขาดความระมัดระวังที่ควรมีเสียก่อน กล่าวอย่างสั้น ๆ ได้ว่าต้องสามารถกระท่าโดย
                     รู้ส่านึกและโดยรู้ผิดชอบแล้ว บุคคลบางจ่าพวกแม้จะมีการเคลื่อนไหวร่างกายก็ไม่อาจนับได้ว่าเป็นการ

                     กระท่าเพราะไม่รู้ส่านึกและเข้าใจในการกระท่าของตน เช่นเด็กทารกที่ยังแบเบาะ หากเล่นของมีคม

                     จนเป็นอนตรายแก่ผู้ที่อยู่ใกล้ย่อมไม่เป็นการท่าละเมิดของเด็ก แต่อาจเป็นการท่าละเมิดของผู้มีหน้าที่
                            ั
                     ดูแลเด็ก หรือถ้าเด็กโตขึ้นมาสามารถกระท่าโดยรู้ส่านึกในการกระท่าของตนแล้ว แต่ยังไม่รู้ผิดชอบ

                     ในการกระท่านั้น หากการกระท่าอย่างใดให้บุคคลอนเสียหายก็ไม่อาจนับได้ว่าเด็กนั้นได้กระท่าไปโดย
                                                                ื่



                            22  ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๔๒๙,๔๓๐.
                            23  ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๔๓๓.

                            24  ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๔๓๔.๔๓๗.
                            25  ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๔๒๐.
   409   410   411   412   413   414   415   416   417   418   419