Page 411 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 411

๓๙๘







                                   ี
                     สมมติให้บุคคลอกประเภทหนึ่งเรียกว่า นิติบุคคล (Justice Person) ซึ่งนิติบุคคลนี้แม้จะไม่มีชีวิตจิตใจ
                         ็
                     แต่กมีสิทธิและหน้าที่เหมือนบุคคลธรรมดา เว้นแต่เป็นสิทธิและหน้าที่ที่พงมีเป็นได้เฉพาะบุคคลธรรมดา
                                                                                 ึ
                                               14
                     เท่านั้น เช่น การหมั้น การสมรส
                               ๒.๕.๑ สภาพบุคคล (Personality)

                                  เรื่องบุคคลเป็นเรื่องส่าคัญล่าดับแรกของกฎหมาย ถือว่าเฉพาะแต่สิ่งที่มีสภาพบุคคล
                     (Legal Personality) เท่านั้นจึงจะสามารถมีสิทธิและหน้าที่ได้ สิ่งที่ไม่มีสภาพบุคคล เช่นทรัพย์สิ่งของ

                     ทั้งหลายนั้นโดยทั่วไปไม่อาจมีสิทธิและหน้าที่ได้ และปกติย่อมตกเป็นวัตถุแห่งสิทธิหรือตั้งอยู่ในบังคับ

                     แห่งสิทธิของบุคคล
                                    15
                                                   ่
                               ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย์ของไทยแยกบุคคลออกเป็นบุคคลธรรมดาและ
                     นิติบุคคล ซึ่งบุคคลธรรมดาได้แก่มนุษย์ตามธรรมชาติซึ่งกฎหมายรับรองว่ามีสภาพบุคคลและสามารถ
                                     ั
                     มีสิทธิได้เท่าเทียมกน การเริ่มสภาพบุคคลต้องมีองค์ประกอบ ๒ ประการ คือคลอดแล้ว และอยู่รอดเป็น
                          16
                     ทารก  ซึ่งอาจถือสิทธิหรืออยู่ใต้บังคับแห่งสิทธิ เช่นอาจเป็นเจ้าของทรัพย์สิน เป็นเจ้าหนี้ เป็นลูกหนี้
                     มีครอบครัว ได้รับมรดก เป็นต้น แม้ทารกที่คลอดออกมาแล้วและมีชีวิตอยู่ได้เริ่มเป็นบุคคลอันนับว่าเริ่ม
                     มีสิทธิตามกฎหมายได้แล้วก็ดี แต่ยังต้องอยู่ในข้อขีดขั้นแห่งกฎหมายตามล่าดับอายุ และจะนับว่าเต็ม

                                                     17
                     บริบูรณ์ได้ต่อเมื่อบรรลุนิติภาวะแล้ว  หรืออกนัยหนึ่งคือเรียกว่าผู้ที่เริ่มต้นเป็นบุคคลนั้นมีเพยง
                                                                                                       ี
                                                             ี
                     ความสามารถในการถือสิทธิ แต่ยังท่าการใด ๆ ในกฎหมายไม่ได้จนกว่าจะมีความสามารถในการใช้สิทธิ
                     และความสามารถในการใช้สิทธินี้จะบริบูรณ์ต่อเมื่อมีภาวะเป็นผู้ใหญ่หรือบรรลุนิติภาวะ เช่นเด็กที่บิดา

                     ตาย เด็กนั้นอาจอาจรับมรดกของบิดาที่เป็นเจ้าของทรัพย์ได้ แต่จะเอาทรัพย์ไปโอนให้ใครตามใจ

                     ยังไม่ได้
                           18
                               ๒.๕.๒ ความสามารถของบุคคล (Personal Ability)

                                  กฎหมายให้การรับรองว่ามนุษย์ทุกคนย่อมได้สภาพบุคคล สามารถมีสิทธิได้ แต่ยังไม่มี

                     ความสามารถใช้สิทธิกระท่าการให้เกิดผลทางกฎหมายได้เช่น เด็กไร้เดียงสาย่อมสามารถมีสิทธิในชีวิต
                     และทรัพย์สิน สามารถรับมรดกได้ แต่ยังไม่สามารถใช้สิทธิได้ ไม่อาจแสดงเจตนาและไม่อาจท่ากิจการ



                            14  นเรศร์ เกษะประกร, หลักกฎหมายบุคคล พิมพ์ครั้งที่ ๒, (กรุงเทพมหานคร : ส่านักพิมพ์วิญญูชน,
                     ๒๕๔๐), หน้า ๙.
                            15  กิตติศักดิ์ ปรกติ, ค่าอธิบายกฎหมายลักษณะบุคคล : บุคคลธรรมดาและนิติบุคคล พิมพ์ครั้งที่ ๑๐

                     (กรุงเทพมหานคร : ส่านักพิมพ์วิญญูชน, ๒๕๖๓), หน้า ๑๗.
                            16  ประสิทธิ์ โฆวิไลกูล, ค่าอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยบุคคล พิมพ์ครั้งที่ ๗,
                     (กรุงเทพมหานคร : ส่านักพิมพ์นิติธรรม, ๒๕๖๒), หน้า ๑๙-๒๐.

                            17  ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๙.
                            18  กิตติศักดิ์ ปรกติ, เรื่องเดียวกัน, หน้า ๓๑-๓๒.
   406   407   408   409   410   411   412   413   414   415   416