Page 408 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 408

๓๙๕







                             ๓) ยุคกฎหมายเทคนิค (Technical Law) เมื่อสังคมเจริญขึ้นการติดต่อระหว่างคนในสังคม

                     มีมากขึ้นและใกล้ชิด ซับซ้อนยิ่งขึ้น เครื่องมือเครื่องใช้ในการด่ารงชีวิตก็มีมากขึ้นท่าให้มีข้อขัดแย้ง
                                                                                                    ี
                     ในการด่าเนินชีวิตในสังคมมากขึ้นเช่นกัน กฎเกณฑ์ที่เป็นแต่ขนบธรรมเนียมประเพณีไม่เพยงพอ
                                                             ื่
                     จึงจ่าเป็นต้องมีกฎเกณฑ์ที่บัญญัติขึ้นมาทันทีเพอแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น เช่น กฎหมายจราจร เป็นต้น
                     กฎเกณฑ์ลักษณะนี้เป็นกฎเกณฑ์ที่ตั้งขึ้นเพอวัตถุประสงค์เฉพาะเจาะจงบางอย่างไม่เกี่ยวกับศีลธรรม
                                                         ื่
                     ขนบธรรมเนียมประเพณี ไม่เกี่ยวกับหลักกฎหมาย แต่เป็นเรื่องที่ชุมชนจะต้องก่าหนดกฎเกณฑ์ขึ้นมา

                                ื่
                     ทันทีทันใดเพอแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าบางอย่าง เรียกว่า “กฎหมายเทคนิค” เทคนิคคือวิธีการที่จะท่า
                     อะไรบางอย่างให้เกิดผลตามที่ตั้งใจไว้โดยเฉพาะเจาะจง กฎจราจรต้องการให้เกิดความปลอดภัย

                     ในการจราจร ให้สะดวกในการสัญจรไปมา ไม่ใช่ว่าขับรถทางซ้ายเป็นคนดี ขับรถทางขวาเป็นคนไม่ดี ซึ่ง

                     ไม่ใช่เรื่องดีชั่ว แต่เป็นเรื่องถูกหรือผิด เพราะเขาก่าหนดไว้อย่างนี้ ถ้าไม่ท่าตามที่ก่าหนดก็ถือเป็น
                     ความผิด

                             ๒.๔ กฎหมายอาญา

                             กฎหมายอาญา หมายถึง กฎหมายที่บัญญัติถึงความผิดและโทษ โดยทั่วไปเข้าใจว่าความผิด
                     อาญาส่วนใหญ่มีลักษณะที่มาจากศีลธรรมหรือเป็นความผิดอยู่ในตัวเอง (mala in se) แต่ก็มิใช่ทั้งหมด

                     เพราะปัจจุบันคนที่เคร่งครัดในศีลธรรมก็อาจท่าผิดกฎหมายอาญาได้ เช่น ช่วยซุกซ่อนหรือท่าลาย

                     พยานหลักฐานในการกระท่าความผิด หรือให้การเป็นพยานเท็จต่อศาลเพื่อช่วยเหลือผู้มีพระคุณ เป็นต้น
                     นอกจากนี้ปัจจุบันมีกฎหมายทางเทคนิคเกิดขึ้นมากจึงมีความผิดตามที่กฎหมายบัญญัติขึ้น (mala

                     prohibita) เช่น กฎหมายควบคุมโรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ ไม่ให้ปล่อยสารพิษมาท่าอันตรายแก่ชุมชน
                                                                                        ี
                                      ็
                     และสิ่งแวดล้อม ซึ่งกน่าจะถูกต้องชอบด้วยเหตุผลและศีลธรรมอยู่ในตนเอง แต่ก็มกฎหมายที่ไม่เกี่ยวกับ
                                                             ี่
                     ศีลธรรมเลย เช่น การขับรถต้องมีใบอนุญาตขับข หรือกฎหมายที่เกี่ยวกับการทะเบียนราษฎร์ ภาษีอากร
                     เป็นต้น กฎหมายบางฉบับอาจบัญญัติขึ้นด้วยเหตุผลเฉพาะเรื่องราว เช่น กฎหมายว่าด้วยความผิด
                     เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ หรือบัตรอิเล็กทรอนิกส์มีขนเพื่อก้าวให้ทันเทคโนโลยี ยิ่งไปกว่านั้นกฎหมายยังอาจ
                                                            ึ้
                     ก่าหนดให้บุคคลต้องรับผิดทางอาญาโดยเด็ดขาด (Strict liability) โดยไม่ค่านึงถึงเจตนาหรือความ
                                                                                             7
                                                                                        ี
                                                                                     ื่
                     ประมาทของผู้กระท่า หรืออาจก่าหนดให้ต้องรับผิดในการกระท่าของบุคคลอนอกด้วย  ดังนั้น การจะ
                                                                                        ี
                     ให้ความหมายของความผิดอาญาจึงเป็นเรื่องยาก คงจะต้องวางไว้กว้าง ๆ เพยงว่าการกระท่าใดที่
                     กฎหมายเห็นว่ากระทบกระเทือนต่อผู้อนหรือความสงบสุขของส่วนรวมอย่างร้ายแรงสมควรได้รับโทษ
                                                      ื่
                     ทางอาญาและจะลงโทษหนักเบาเพยงใด โดยมีวัตถุประสงค์เพอมิให้เกิดความเสียหายแก่ชีวิต ร่างกาย
                                                  ี
                                                                         ื่
                                                                                           ื่
                                                      ื่
                     เสรีภาพ ชื่อเสียง ทรัพย์สินของผู้อน เพอรักษาความมั่นคงของรัฐ การปกครอง เพอรักษาความสงบ
                                                  ื่



                            7  ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๑๓.
   403   404   405   406   407   408   409   410   411   412   413