Page 412 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 412

๓๙๙







                                        ั
                            ื่
                     อันใดเพอก่อความผูกพนตามกฎหมายได้ กฎหมายรับรองว่าเป็นประธานแห่งสิทธิเป็นส่าคัญที่ตกติดอยู่
                     กับสภาพบุคคล เช่น ชีวิต ร่างกาย อนามัย เสรีภาพ และชื่อเสียงเกียรติยศ เป็นต้น แต่จะก่อสิทธิใหม่ขึ้น
                     หรือจะท่าการใดให้ได้มาหรือให้เกิดความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงซึ่งสิทธิ หน้าที่ หรือความรับผิดซึ่งมิได้

                     ตกติดมากับสภาพบุคคลนั้น บุคคลดังกล่าวต้องมีความสามารถในการกระท่าการนั้นเสียก่อน

                     ความสามารถในการกระท่าการที่มีผลตามกฎหมายที่ส่าคัญได้แก่
                                 ๑) ความสามารถในการท านิติกรรม

                                    ได้แก่ความสามารถในการใช้ เปลี่ยนแปลงหรือจ่าหน่ายจ่ายโอนสิทธิ หรือก่อความ
                                                                                               19
                     ผูกพันกับผู้อื่นด้วยการแสดงเจตนาซึ่งมุ่งต่อผลทางกฎหมายตามความสมัครใจของผู้กระท่า  ผู้ใช้สิทธิ
                     เช่นนั้นจะต้องเป็นผู้มีเหตุผลและเข้าใจในการตัดสินใจของตนเรียกว่าเป็นผู้บรรลุนิติภาวะ (Majority)

                     ผู้ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ เช่น ผู้เยาว์ (Minor) แม้กฎหมายรับรองให้มีสภาพบุคคลและย่อมสามารถถือ
                                                                                ิ
                     สิทธิได้เช่นคนทั้งปวง แต่โดยที่กฎหมายให้ความคุ้มครองผู้เยาว์เป็นพเศษ เนื่องจากกฎหมายเห็นว่า
                     ผู้เยาว์เป็นผู้ออนอายุ อ่อนประสบการณ์ ย่อมเป็นผู้ออนวินิจฉัย ยังไม่อยู่ในฐานะที่จะใช้สิทธิและปฏิบัติ
                                                                ่
                                ่
                     หน้าที่ได้อย่างบริบูรณ์ เหตุนี้กฎหมายจึงจ่ากัดความสามารถในการใช้สิทธิของผู้เยาว์ และก่าหนดให้
                     ผู้เยาว์ต้องอยู่ใต้อ่านาจของผู้แทนโดยชอบธรรม ซึ่งปกติได้แก่บิดามารดา

                                   ผู้เยาว์ท านิติกรรมต้องได้รับความยินยอม

                                   (๑) กฎหมายมุ่งคุ้มครองผู้เยาว์ กฎหมายถือหลักว่า ผู้เยาว์ย่อมท่านิติกรรมได้ แต่โดยที่
                     ผู้เยาว์ปกติเป็นผู้อ่อนวินิจฉัย หากปล่อยให้ท่านิติกรรมเองผู้เยาว์อาจเป็นฝ่ายเสียเปรียบ ดังนั้นกฎหมาย

                     จึงวางหลักคุ้มครองผู้เยาว์โดยก่าหนดให้ผู้เยาว์มีผู้ปกครองคอยดูแลรักษาผลประโยชน์ให้ และนิติกรรม
                                              ั
                     ที่ผู้เยาว์กระท่าลงจะมีผลผูกพนสมบูรณ์เมื่อได้ความความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรม  นิติกรรมใด
                                                                                                        ั
                     ท่าลงโดยปราศจากความยินยอมของผู้แทนโดยชอบธรรม นิติกรรมนั้นย่อมมีข้อบกพร่องไม่มีผลผูกพน
                     ผู้เยาว์ คืออาจถูกบอกล้างหรือปฏิเสธความผูกพันจากคู่กรณีฝ่ายผู้เยาว์ได้
                                   (๒) กิจกรรมที่ต้องได้รับความยินยอมต้องเป็นนิติกรรม  การกระท่าทั้งหลายที่มีผลทาง

                     กฎหมายนั้น อาจแบ่งได้เป็นนิติกรรมอย่างหนึ่ง และนิติเหตุอกอย่างหนึ่ง กิจกรรมที่ผู้เยาว์กระท่าและ
                                                                        ี
                                                                                         ั
                                                                                       ื่
                     กฎหมายบังคับว่าต้องได้รับความยินยอมนั้นจ่ากัดเฉพาะนิติกรรม ส่วนกิจการอนอนมีผลตามกฎหมาย
                     ที่มิใช่นิติกรรม แต่เป็นนิติเหตุ เช่น ผู้เยาว์ท่าละเมิด ร้องทุกข์ต่อเจ้าพนักงาน ท่าทรัพย์ขึ้นใหม่ เหล่านี้

                     ไม่เป็นนิติกรรมจึงย่อมไม่ต้องได้รับความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรม และนิติกรรมในความหมายนี้
                     ก็หมายถึงนิติกรรมที่ผู้เยาว์กระท่าขึ้นเพอผูกพนตนเองและกองทรัพย์สินของตนเท่านั้น หากเป็น
                                                             ั
                                                        ื่
                     นิติกรรมที่กระท่าในฐานะที่ผู้เยาว์เป็นตัวแทนของผู้อื่น นิติกรรมนั้นย่อมผูกพันผู้อื่น ผู้เยาว์ย่อมท่าได้โดย

                     ไม่ต้องได้รับความยินยอมของผู้แทนโดยชอบธรรม แต่ถ้าผู้เยาว์ท่าการนอกขอบอานาจและตัวการไม่ให้
                                                                                        ่


                            19  ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๔๙.
   407   408   409   410   411   412   413   414   415   416   417