Page 437 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 437
๔๒๔
3.1 การท างานช่วยเหลือดูแลอานวยความสะดวกหรือให้ความบันเทิงแก่คนพการ คนชรา
ิ
เด็กก าพร้าหรือผู้ป่วยในสถานสงเคราะห์หรือสถานพยาบาล งานวิชาการหรืองานบริการด้านการศึกษา เช่น
การสอนหนังสือ การค้นคว้าวิจัย หรือการแปลเอกสาร เป็นต้น จ านวน 2 ชั่วโมง เป็นการท างานหนึ่งวัน
3.2 การท างานวิชาชีพ งานช่างฝีมือหรืองานที่ต้องใช้ความรู้ความเชี่ยวชาญ เช่น งานช่างฝีมือ
เครื่องยนต์ ก่อสร้าง คอมพิวเตอร์หรือวิชาชีพอย่างอื่น เป็นต้น จ านวน 3 ชั่วโมงเป็นการท างานหนึ่งวัน
ื่
็
3.3 การท างานบริการสังคมหรือบ าเพญสาธารณประโยชน์อนที่ไม่ต้องใช้ความรู้ความ
ี่
เชี่ยวชาญหรืองานอื่นนอกจากทก าหนดไว้ เช่น งานท าความสะอาดหรือพัฒนาสถานที่สาธารณะ งานปลูกป่า
หรือดูแลสวนป่าหรือสวนสาธารณะ งานจราจร เป็นต้น จ านวน 4 ชั่วโมง เป็นการท างานหนึ่งวัน
ั
ในกรณีมีเหตุอนสมควร ศาลอาจก าหนดจ านวนชั่วโมงการท างานตามวรรคหนึ่งให้ลด
น้อยลงได้ ทั้งนี้ โดยค านึงถึงหลักเกณฑ์ตามข้อ 7 และให้ระบุเหตุผลไว้โดยชัดแจ้งด้วย
ข้อ 4 ผู้ต้องโทษปรับซึ่งไม่มีเงินช าระค่าปรับอาจร้องขอท างานบริการสังคมหรือท างาน
ี
ิ
สาธารณประโยชน์แทนค่าปรับต่อศาลชั้นต้นที่พพากษาคดี โดยระบุรายละเอยดและประวัติของผู้ร้องตาม
แบบพิมพ์ที่ก าหนดไว้ท้ายระเบียบนี้
ิ
ข้อ 5 ในคดีที่ศาลมีค าพพากษาปรับไม่เกินแปดหมื่นบาท ศาลอาจสอบถามว่าผู้ต้องโทษ
ปรับมีเงินช าระค่าปรับหรือไม่ และแจ้งให้ทราบถึงสิทธิที่จะขอท างานบริการสังคมหรือท างาน
สาธารณประโยชน์แทนค่าปรับก็ได้
ให้ศาลจัดให้มีการช่วยเหลือหรืออ านวยความสะดวกในการจัดท าและยื่นค าร้องตามข้อ 4 ด้วย
ข้อ 6 ในการพจารณาว่าสมควรให้ผู้ต้องโทษปรับท างานบริการสังคมหรือท างาน
ิ
สาธารณประโยชน์แทนค่าปรับหรือไม่ ศาลควรค านึงถึงประโยชน์ที่จะเกิดจากมาตรการบริการสังคมและ
ึ
สาธารณประโยชน์ให้มาก และพงให้ความส าคัญแก่ข้อมูลที่เกี่ยวกับฐานะการเงิน ประวัติและสภาพความผิด
ื่
ของผู้ต้องโทษปรับและเพอการนี้ ศาลอาจสอบถามหรือไต่สวนข้อเท็จจริงเพิ่มเติมเพื่อให้ได้ข้อมูลประกอบการ
ั
ิ
ื่
พจารณาครบถ้วนรวมทั้งอาจขอความร่วมมือจากพนักงานอยการหรือหน่วยงานอนในการสืบเสาะหาข้อมูล
เพื่อประกอบการพิจารณาก็ได้
ฐานะการเงินของผู้ต้องโทษปรับ ให้พิจารณาจากรายได้ ทรัพย์สิน ความเป็นอยู่ ภาระหนี้สิน
ต่าง ๆ เพื่อให้ได้ข้อเท็จจริงปรากฏว่าผู้นั้นมีเงินพอที่จะช าระค่าปรับในเวลาที่ยื่นค าร้องหรือไม่
ประวัติของผู้ต้องโทษปรับให้พจารณาถึงประวัติการกระท าความผิด การศึกษา อาชีพ
ิ
ความรู้ ความเชี่ยวชาญ ครอบครัว และสภาพแวดล้อม รวมทั้งข้อมูลส่วนบุคคลประการอื่น
สภาพความผิด ให้พิจารณาถึงความหนักเบาแห่งข้อหา ความรุนแรงของการกระท าความผิด
สภาวะทางจิตใจ การกระท าความผิดโดยเจตนาหรือประมาท ความเสียหายที่เกิดจากการกระท าความผิด
สภาพความผิดที่ไม่ควรอนุญาตให้ท างานแทนค่าปรับ ได้แก่ ความผิดที่ได้กระท าไปด้วยเจตนาร้ายหรือทุจริต
ั
ฉ้อฉล อนมีผลกระทบต่อสาธารณชนส่วนรวม หรือความผิดที่กฎหมายมุ่งประสงค์จะลงโทษในทางทรัพย์สิน
ื่
ต่อผู้กระท าผิดเพอมิให้ผู้นั้นได้รับประโยชน์จากการกระท าความผิด เช่น ความผิดฐานฉ้อโกงประชาชน
ความผิดเกี่ยวกับการค้ายาเสพติด ความผิดเกี่ยวกับการฟอกเงิน ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และ