Page 28 - annual 2561
P. 28
20
๒. ความรับผิดทางแพ่ง
(ก) หน่วยงานใช้สิทธิเรียกเงินคืนจาก
เจ้าหน้าที่ของรัฐหรือหน่วยงานฟ้องเรียกเงินจาก
เจ้าหน้าที่กรณีไม่ปฏิบัติตามค�าสั่งของหน่วยงานที่ให้
รับผิดทางละเมิด ตามมาตรา ๑๒ แห่งพระราชบัญญัติ
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙
(ข) การเรียกเงินคืนกรณีกระท�าการฝ่าฝืน
ตามมาตรา ๑๔๔ วรรคสามและวรรคสี่ ของรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐
ส�านักงานคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินซึ่งเป็นการ
ตรวจสอบการใช้จ่ายเงินงบประมาณที่มีความรับผิดใน ความรับผิดทางแพ่งของเจ้าหน้าที่ในส่วนนี้
มูลคดีเดียวกัน เช่น หากเป็นความรับผิดเกี่ยวกับการ อยู่ในอ�านาจศาลยุติธรรม
ใช้จ่ายภาครัฐ ก็จะเป็นเจ้าหน้าที่ที่ด�าเนินการเกี่ยวกับ หมายเหตุ
จัดซื้อจัดจ้างตามกฎหมายว่าด้วยจัดซื้อจัดจ้างบริหาร
งานพัสดุภาครัฐฉบับใหม่ ซึ่งอาจมีความรับผิดได้ทั้งหมด กรณีตาม (ก) หน่วยงานใช้สิทธิเรียกเงินคืน
๓ ทาง ได้แก่ ความรับผิดทางแพ่ง ทางอาญา และทาง จากเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือหน่วยงานฟ้องเรียกเงินจาก
ปกครอง ดังนี้ เจ้าหน้าที่กรณีไม่ปฏิบัติตามค�าสั่งของหน่วยงานที่ให้
รับผิดทางละเมิด ตามมาตรา ๑๒ แห่งพระราชบัญญัติ
๑. ความรับผิดทางอาญา ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ นั้น
(ก) ประมวลกฎหมายอาญา ภาค ๒ มี ๒ แนวคิด
ลักษณะ ๒ ความผิดเกี่ยวกับการปกครอง หมวด ๒ แนวคิดที่หนึ่ง เห็นว่า เป็นคดีที่อยู่ในอ�านาจ
ความผิดต่อต�าแหน่งหน้าที่ราชการ มาตรา ๑๔๗ ถึง ศาลปกครอง เนื่องจากเป็นกรณีที่ข้าราชการอาศัย
มาตรา ๑๖๖ ลักษณะ ๓ ความผิดเกี่ยวกับการยุติธรรม โอกาสในการปฏิบัติหน้าที่กระท�าละเมิด จึงเป็นข้อ
หมวด ๒ ความผิดต่อต�าแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม พิพาทระหว่างหน่วยงานทางปกครองกับเจ้าหน้าที่ของรัฐ
มาตรา ๒๐๐ ถึงมาตรา ๒๐๕
อันเกิดจากการใช้อ�านาจตามกฎหมายหรือละเลยต่อ
(ข) พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิด หน้าที่ตามที่กฎหมายก�าหนดให้ต้องปฏิบัติ (เทียบเคียง
เกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๒ ค�าวินิจฉัยที่ ๑๔/๒๕๔๖, ๒๒/๒๕๔๖, ๒๙-๓๐/๒๕๔๖,
(ค) พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดของ ๒/๒๕๔๗, ๙-๑๐/๒๕๔๗, ๒๗/๒๕๔๗, ๔๘-๔๙/๒๕๔๗)
พนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๐๒
แนวคิดที่สอง เห็นว่า เมื่อพิจารณาเจตนารมณ์
(ง) พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและ ของการจัดตั้งศาลปกครองตามรัฐธรรมนูญแห่ง
การบริหารงานพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๑๒๐, ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ และมาตรา ๙
๑๒๑ วรรคหนึ่ง (๓) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองฯ
คดีเหล่านี้อยู่ในอ�านาจศาลยุติธรรม (ศาลฎีกา ที่บัญญัติว่า “ศาลปกครองมีอ�านาจพิจารณาพิพากษา
แผนกคดีอาญาของผู้ด�ารงต�าแหน่งทางการเมืองหรือศาล หรือมีค�าสั่งในเรื่องดังต่อไปนี้ คดีพิพาทเกี่ยวกับการ
อาญาคดีทุจริต แล้วแต่กรณี) และศาลทหาร (ในกรณีที่ กระท�าละเมิดหรือความรับผิดอย่างอื่นของหน่วยงานทาง
บุคคลที่อยู่ในอ�านาจศาลทหารกระท�าความผิด) ปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ อันเกิดจากการใช้อ�านาจ