Page 30 - annual 2561
P. 30

22




                      (ค)  คดีที่เจ้าหน้าที่ของรัฐฟ้องขอให้   ค�าพิพากษาหรือค�าสั่งนั้นจะน�าค�าพิพากษาหรือค�าสั่งที่
            เพิกถอนค�าสั่งให้ใช้เงินตามมาตรา ๑๒ แห่งพระราช ถึงที่สุดระหว่างศาลที่ขัดแย้งกันนั้นมายื่นค�าร้องขอให้

            บัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙  คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอ�านาจหน้าที่ระหว่างศาล
            เป็นคดีปกครองตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๑) แห่งพระราช วินิจฉัยเกี่ยวกับการปฏิบัติตามค�าพิพากษาหรือค�าสั่งที่
            บัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง  ถึงที่สุดระหว่างศาลที่ขัดแย้งกันนั้นได้ กรณีจึงมีปัญหา

            พ.ศ. ๒๕๔๒                                       ต้องพิจารณาว่า สมควรที่จะวางแนวทางในการวินิจฉัย
                                                            ปัญหาดังกล่าวอย่างไร


            ประเด็นที่ ๒ แนวทางการวินิจฉัยกรณี                     ๑.  การยื่นค�าร้องตามมาตรา ๑๔ คู่ความต้อง
                                                            ไม่อาจปฏิบัติตามค�าพิพากษาที่ถึงที่สุดทั้งสองฉบับได้
            คำาพิพากษาที่ถึงที่สุดระหว่างศาลขัดแย้งกัน
                                                                   ทั้งนี้ คณะกรรมการเคยวางหลักไว้ในค�าสั่ง
                    ที่ผ่านมา คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอ�านาจ  ที่ ๑๕๙/๒๕๖๐ ว่า การยื่นค�าร้องขอให้คณะกรรมการ

            หน้าที่ระหว่างศาลได้วางแนวทางการพิจารณาเขตอ�านาจ  วินิจฉัยเกี่ยวกับการปฏิบัติตามค�าพิพากษาหรือค�าสั่ง
            ศาลในคดีที่เจ้าหน้าที่ของรัฐฟ้องขอให้เพิกถอนค�าสั่งให้ใช้  ของศาล กรณีค�าพิพากษาหรือค�าสั่งที่ถึงที่สุดขัดแย้งกัน
            เงินตามมาตรา ๑๒ แห่งพระราชบัญญัติความรับผิดทาง  ตามมาตรา ๑๔ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการ

            ละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ โดยใช้เกณฑ์พิจารณา  วินิจฉัยชี้ขาดอ�านาจหน้าที่ระหว่างศาล พ.ศ. ๒๕๔๒ นั้น
            จากมูลเหตุอันเป็นที่มาแห่งการฟ้องคดีว่าเป็นการกระท�า   ต้องเป็นกรณีค�าพิพากษาหรือค�าสั่งที่ถึงที่สุดระหว่างศาล

            ละเมิดที่อยู่ในอ�านาจพิจารณาพิพากษาของศาลใด     ทั้งสองฉบับนั้นขัดแย้งกันจนเป็นเหตุให้คู่ความหรือบุคคล
            กล่าวคือ หากเป็นคดีพิพาทเกี่ยวกับการกระท�าละเมิดที่  ซึ่งได้รับผลกระทบโดยตรงจากค�าพิพากษาหรือค�าสั่งนั้น
            เกิดจากการใช้อ�านาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ของรัฐ  ไม่อาจปฏิบัติตามหรือมีข้อขัดข้องให้ไม่อาจปฏิบัติตาม

            ตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๓) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้ง  ค�าพิพากษาหรือค�าสั่งที่ถึงที่สุดทั้งสองฉบับนั้นได้
            ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒

            คดีนั้นอยู่ในเขตอ�านาจศาลปกครอง แต่ถ้าเป็นการกระท�า    ดังนั้น แม้ข้อเท็จจริงที่ใช้เป็นฐานในการพิจารณา
            ละเมิดที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ทั่วไปของเจ้าหน้าที่   ในคดีความผิดทางวินัยของศาลปกครองและในคดีอาญา
            มิได้เกิดจากการใช้อ�านาจตามกฎหมาย เป็นคดีที่อยู่ใน   ของศาลยุติธรรมจะเป็นข้อเท็จจริงเดียวกัน แต่ศาลทั้ง

            เขตอ�านาจศาลยุติธรรม (ค�าวินิจฉัยที่ ๒/๒๕๕๐ ที่   สองฟังข้อเท็จจริงต่างกัน แต่เมื่อประเด็นในคดีทั้งสอง
            ๖๔/๒๕๕๗ และที่ ๔๒/๒๕๕๙)                         แตกต่างกันและการพิสูจน์ความผิดที่กฎหมายประสงค์
                                                            ให้ลงโทษนั้นก็แตกต่างกัน ทั้งไม่ปรากฏว่ามีข้อขัดข้อง
                    เมื่อความรับผิดของเจ้าหน้าที่ของรัฐในเรื่องการ  ในการปฏิบัติตามค�าพิพากษาทั้งสองฉบับ กรณีนี้จึงไม่ใช่
            ใช้จ่ายงบประมาณและการเงินการคลังนั้นมีทั้งความ   ค�าพิพากษาที่ถึงที่สุดระหว่างศาลขัดแย้งกัน ตามมาตรา ๑๔

            รับผิดทางอาญา ทางแพ่ง และทางปกครอง ซึ่งอยู่ใน
            อ�านาจพิจารณาพิพากษาของศาลต่างกัน ทั้งนี้แม้จะ         ๒.  เกณฑ์การวินิจฉัย

            อาศัยข้อเท็จจริงอันเป็นเหตุในการฟ้องคดีเป็นเรื่อง      ที่ผ่านมา คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอ�านาจ
            เดียวกันหรือเกี่ยวพันกัน ดังนี้ เมื่อมีการฟ้องคดีต่อศาล หน้าที่ระหว่างศาลได้วินิจฉัยคดีที่ค�าพิพากษาที่ถึงที่สุด

            ที่มีเขตอ�านาจแตกต่างกันและศาลนั้นได้มีค�าพิพากษา ระหว่างศาลขัดแย้งกันไว้จ�านวน ๖ เรื่อง โดยใช้เกณฑ์
            ถึงที่สุดโดยวินิจฉัยข้อเท็จจริงแตกต่างกัน ย่อมเป็น  พิจารณาตามบทบัญญัติมาตรา ๑๔ แห่งพระราชบัญญัติ
            เรื่องที่คู่ความหรือผู้ซึ่งได้รับผลกระทบโดยตรงจาก  ว่าด้วยการวินิจฉัยชี้ขาดอ�านาจหน้าที่ระหว่างศาล พ.ศ.
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35