Page 29 - annual 2561
P. 29
21
ตามกฎหมาย หรือจากกฎ ค�าสั่งทางปกครองหรือค�าสั่ง แต่อยู่ในอ�านาจศาลยุติธรรมซึ่งเป็นศาลที่มีอ�านาจ
อื่น หรือจากการละเลยต่อหน้าที่ตามที่กฎหมายก�าหนด พิจารณาพิพากษาคดีทั่วไปที่ไม่อยู่ในอ�านาจศาลอื่น
ให้ต้องปฏิบัติหรือปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวล่าช้าเกินสมควร” ๓. ความรับผิดทางปกครอง
จะเห็นได้ว่าเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญและกฎหมาย
จัดตั้งศาลปกครองที่ก�าหนดให้มีการจัดตั้งศาลปกครอง (ก) ความรับผิดทางวินัยของข้าราชการ
ขึ้นเป็นพิเศษก็เนื่องจากว่ากฎหมายประสงค์ที่จะ ค�าสั่งของผู้บังคับบัญชาที่จะลงโทษทาง
คุ้มครองเอกชนที่ได้รับความเสียหายจากการใช้อ�านาจ วินัยแก่ข้าราชการกรณีกระท�าผิดกฎหมาย/ระเบียบ
ของรัฐแล้วก่อให้เกิดความเสียหายหรือไม่ใช้อ�านาจรัฐ ว่าด้วยวินัยการเงินและการคลังของรัฐมีสถานะเป็น
ตามหน้าที่ที่กฎหมายก�าหนดไว้เนื่องจากเอกชนอยู่ใน ค�าสั่งทางปกครอง ตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๓) แห่ง
ฐานะที่ไม่เท่าเทียมกับรัฐ โดยเฉพาะอย่างยิ่งตามมาตรา พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดี
๙ วรรคหนึ่ง (๓) นี้เป็นเรื่องความรับผิดของรัฐที่มีต่อ ปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ อยู่ในอ�านาจพิจารณาพิพากษาของ
เอกชน กฎหมายประสงค์จะให้ศาลปกครองตรวจสอบ ศาลปกครองชั้นต้น (เทียบเคียงค�าวินิจฉัยที่ ๒๕/๒๕๕๐)
และเยียวยาความเสียหายอันเกิดจากการใช้อ�านาจทาง ยกเว้นความผิดทางวินัยทหารอยู่ในอ�านาจ
ปกครองหรือจากการละเลยต่อหน้าที่ในทางปกครอง แต่ ศาลยุติธรรม เนื่องจากเป็นข้อยกเว้นอ�านาจศาลปกครอง
ในกรณีที่เป็นข้อพิพาทระหว่างหน่วยงานทางปกครองกับ ตามมาตรา ๙ วรรคสอง (๑) (เทียบเคียงค�าวินิจฉัยที่
เจ้าหน้าที่ของรัฐ หน่วยงานทางปกครองมีฐานะที่เหนือ ๒๓/๒๕๕๗)
กว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐอยู่แล้ว หน่วยงานทางปกครองย่อม
มีอ�านาจในการออกค�าสั่งและบังคับการทางปกครอง (ข) ความรับผิดทางวินัยทางงบประมาณ
เอาแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐให้เป็นไปตามค�าสั่งของตนได้ และการคลัง
เองตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง ค�าสั่งลงโทษปรับทางปกครอง ซึ่งเป็น
พ.ศ. ๒๕๓๙ โดยไม่จ�าเป็นต้องอาศัยอ�านาจศาล ดังนั้น อ�านาจของคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินที่ใช้ลงโทษ
การที่หน่วยงานทางปกครองประสงค์ที่จะลดตัวเองลง เจ้าหน้าที่ของหน่วยตรวจรับกรณีมีการกระท�าผิด
มาใช้อ�านาจศาลในการบังคับให้เป็นไปตามค�าสั่งทาง กฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐ อยู่ในอ�านาจ
ปกครองของตน จึงเป็นเรื่องที่ต้องใช้สิทธิเสมือนหนึ่งตน พิจารณาพิพากษาของศาลปกครองสูงสุด ตามมาตรา
เป็นเอกชนฟ้องบังคับเอกชนด้วยกัน ไม่ใช่เป็นเรื่องความ ๒๔๐ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
รับผิดของรัฐที่มีต่อเอกชน แต่เป็นเรื่องความรับผิดของ พ.ศ. ๒๕๖๐ และร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการตรวจเงิน
เอกชนที่มีต่อรัฐ กรณีจึงไม่อยู่ในอ�านาจของศาลปกครอง แผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๑๐๓