Page 32 - annual 2561
P. 32
24
ประเด็นเพิ่มเติมที่ฝ่ายเลขานุการน�าเสนอ การบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ มีการจัดตั้งศาล
ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ อาญาคดีทุจริต และในขณะเดียวกันคดีลักษณะดังกล่าว
ภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ ก็มักจะมีรากฐานเดิมมาจากการกระบวนการท�าสัญญา
มาตรา ๑๒๐ ผู้ใดเป็นเจ้าหน้าที่หรือเป็นผู้มี ภาครัฐซึ่งอาจเป็นสัญญาทางปกครองและศาลปกครอง
อ�านาจหน้าที่ในการด�าเนินการเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง เป็นศาลที่มีอ�านาจเหนือคดี
หรือการบริหารพัสดุ ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ ประเด็นที่หนึ่ง อาจมีประเด็นขอบเขตของการ
ในการจัดซื้อจัดจ้างหรือการบริหารพัสดุ ตามพระราช ขัดกันของค�าพิพากษาทั้งสองศาล ซึ่งหมายความรวมไป
บัญญัตินี้ กฎกระทรวง ระเบียบ หรือประกาศที่ออกตาม ถึงตัวรากฐาน คือการรับฟังข้อเท็จจริงของสองศาลขัดกัน
ความในพระราชบัญญัตินี้โดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความ หรือเฉพาะผลปลายทางของค�าพิพากษาเท่านั้นที่ขัดกัน
เสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด หรือปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติ ประเด็นที่สอง ในการท�าสัญญาจัดซื้อจัดจ้าง
หน้าที่ในการจัดซื้อจัดจ้าง หรือการบริหารพัสดุตาม เมื่อเกิดความเสียหายอย่างเช่น ก่อสร้างถนนเสียหาย
พระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวง ระเบียบ หรือประกาศ ช�ารุด เมื่อมีการเรียกให้ชดใช้ค่าเสียหายแล้วใน
ที่ออกตามความในพระราชบัญญัตินี้ โดยทุจริต ต้อง ขณะเดียวกันมีการฟ้องคดีอาญา โดยอาศัยประมวล
ระวางโทษจ�าคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบปี หรือปรับตั้งแต่ กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๔๔/๑ เรียก
สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท หรือทั้งจ�าทั้งปรับ ค่าเสียหายที่สืบเนื่องจากท�าโครงการ ถ้าคดีมีการฟ้อง
ผู้ใดเป็นผู้ใช้หรือผู้สนับสนุนในการกระท�า ให้รับผิดทางปกครองและทางอาญาและเรียกค่าเสียหาย
ความผิดตามวรรคหนึ่ง ผู้นั้นต้องระวางโทษตามที่ก�าหนด เช่นนี้ หากเกิดค�าพิพากษาที่ขัดแย้งกันระหว่างศาล
ไว้ส�าหรับความผิดตามวรรคหนึ่ง ผลจะเป็นอย่างไร
จะเห็นได้ว่า ในปัจจุบันในมูลคดีเดียวกันอาจ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ กรรมการวินิจฉัย
มีคดีแพ่ง คดีปกครอง และมีประเด็นที่เกี่ยวข้องในทาง ชี้ขาดอ�านาจหน้าที่ระหว่างศาลและผู้เข้าร่วมประชุมจาก
อาญาโดยพระราชบัญญัติจัดซื้อจัดจ้างฯ ข้อที่จะเป็น หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องมีข้อสังเกตในประเด็นดังกล่าว
ปัญหาจะเชื่อมโยงมาถึงประเด็นอ�านาจหน้าที่ระหว่าง ว่า หากมีค�าพิพากษาที่ถึงที่สุดระหว่างศาลขัดแย้งกัน
ศาลในการจะวินิจฉัยในประเด็นเรื่องการกระท�าที่เป็น ก็เป็นอ�านาจหน้าที่ของคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาด
ความผิดทางอาญา ซึ่งคดีที่มีการฟ้องร้องกันจ�านวนมาก อ�านาจหน้าที่ระหว่างศาลจะพิจารณาชี้ขาดได้ตามมาตรา
ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการจัดซื้อจัดจ้าง การสร้างถนน ฯลฯ ๑๔ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการวินิจฉัยชี้ขาดอ�านาจ
ก็จะมีฟ้องในฐานทุจริต ซึ่งเดิมก็จะฟ้องคดีต่อศาลอาญา หน้าที่ระหว่างศาล พ.ศ. ๒๕๔๒ ทั้งนี้ กรรมการบางท่าน
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๕๗ ปัจจุบันก็มี มีความเห็นว่าควรมีการศึกษาข้อมูลทางวิชาการให้
การประกาศใช้พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและ ละเอียดและน�าเสนอต่อที่ประชุมเพื่อพิจารณาต่อไป