Page 37 - annual 2561
P. 37

29




                                                                      การพิจารณาในชั้นศาลจะวินิจฉัยเฉพาะส่วนที่
                                                               ต้องรับผิดไม่ได้วินิจฉัยเรื่องดอกเบี้ยไว้ พระราชบัญญัติ

                                                               ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ ไม่ได้
                                                               บัญญัติเรื่องการเรียกดอกเบี้ยไว้ คณะกรรมการกฤษฎีกา
                                                               เห็นว่าการชดใช้ดอกเบี้ยเป็นการชดใช้ตามพระราช

                                                               บัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙
                                                               เมื่อไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นการเฉพาะต้องใช้กฎหมาย

                                                               ทั่วไปคือประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ซึ่งเป็นเรื่อง
                                                               หนี้เงินหรือเรื่องดอกเบี้ยจึงคิดดอกเบี้ยได้ โดยอธิบดีไม่มี
                                                               สิทธิสั่งให้งดหรือลดดอกเบี้ยได้ เพราะพระราชบัญญัติ

                                                               ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ และ
                                                               ระเบียบกระทรวงการคลังไม่ได้บัญญัติไว้เป็นการเฉพาะ

                                                                      กรณีเรื่องอายุความตามมาตรา ๑๐ บัญญัติ

                                                               อายุความอย่างสั้น ๒ ปี ต่างจากอายุความในประมวล
                                                               กฎหมายแพ่ง ๑ ปี ในเรื่องละเมิดต้องเผื่อกระบวนสอบ

                                                               ข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด การส่งส�านวนให้
                                                               กระทรวงการคลังตรวจสอบ การวินิจฉัยสั่งการต่าง ๆ
                                                               จะยาวกว่าการใช้สิทธิเรียกร้องของเอกชนต่อเอกชน เมื่อ

                                                               พระราชบัญญัติฉบับนี้บัญญัติอายุความสั้นไว้แต่ไม่ได้
                                                               บัญญัติอายุความยาวไว้หลายหน่วยงานจึงเข้าใจว่าไม่มี

               ความชัดเจนสามารถน�าไปปฏิบัติได้จะไม่ส่งเรื่องให้  อายุความยาว ซึ่งศาลปกครองเห็นว่าเป็นกรณีที่ออกค�าสั่ง
               คณะกรรมการกฤษฎีกาตีความให้ความเห็นทางกฎหมาย  ทางปกครองอายุความเกิน ๑๐ ปี จึงใช้สิทธิเรียกร้องไม่ได้
               ในต่างประเทศได้สร้างกฎหมายเพื่อให้ความคุ้มครอง  และมีค�าสั่งให้เพิกถอนค�าสั่งทางปกครองดังกล่าว

               เจ้าหน้าที่เป็นการเฉพาะแยกต่างหากจึงก่อให้เกิดการ      ขอบเขตการใช้กฎหมายในแง่องค์กร หลักในการ

               ผลักดันและร่างกฎหมายในประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ.     พิจารณาว่าเจ้าหน้าที่หน่วยใดจะได้รับความคุ้มครองต้อง
               ๒๕๓๙ โดยหลักจะแยกจากการกระท�าของเจ้าหน้าที่     พิจารณาจากค�าว่าเจ้าหน้าที่ของส่วนราชการ ราชการ

               ถ้าเป็นการกระท�าโดยแท้ไม่ได้เกี่ยวข้องกับราชการ   ส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น ย่อมได้รับความ
               เจ้าหน้าที่ต้องรับผิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและ     คุ้มครองเช่นกัน ส่วนรัฐวิสาหกิจจะได้รับความคุ้มครอง

               พาณิชย์ แต่ถ้าเป็นการกระท�าที่เป็นความเสียหายเกิดขึ้น   เฉพาะที่จัดตั้งโดยพระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา
               จากการกระท�าตามหน้าที่กฎหมายจะคุ้มครอง หากเป็น   ส่วนใหญ่เป็นองค์การของรัฐบาล เช่น การไฟฟ้า การ
               การสร้างความเสียหายให้แก่บุคคลภายนอก ผู้เสียหาย  ประปา แต่หน่วยงานที่จัดตั้งโดยกฎหมายในล�าดับชั้น

               ต้องไปฟ้องหน่วยของรัฐจะฟ้องเจ้าหน้าที่ไม่ได้ เมื่อ  พระราชบัญญัติ พระราชก�าหนด เช่น พระราชก�าหนด

               หน่วยงานของรัฐชดใช้ค่าเสียหายแล้ว เจ้าหน้าที่อาจจะ เกี่ยวกับบริษัทบริหารสินทรัพย์ที่ซื้อหนี้เสียมาบริหาร
               ต้องรับผิดหรือถูกไล่เบี้ยเฉพาะกรณีที่เป็นการกระท�าโดย จัดการเป็นบริษัทจดทะเบียนตามประมวลกฎหมายแพ่ง
               จงใจหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงเท่านั้น      และพาณิชย์ เมื่อกระทรวงการคลังเข้าไปถือหุ้นเกิน
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42