Page 38 - annual 2561
P. 38

30




            เกณฑ์ที่ก�าหนดจึงกลายเป็นรัฐวิสาหกิจ คณะกรรมการ        หลักอีกประการคือความเสียหายในมูลกรณี
            กฤษฎีกาให้ความเห็นว่าต้องเป็นรัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้น เดียวกันที่มีผู้ร่วมกระท�าหลายคนไม่ว่าจะมีบทบาท

            โดยกฎหมายโดยตรง ไม่ใช่หน่วยงานที่เกิดจากการเข้าถือ เกี่ยวข้องโดยตรงหรือโดยอ้อม จะไม่ใช้หลักความรับผิด
            หุ้นของรัฐ เมื่อกระทรวงการคลังเข้าไปถือหุ้นเพิ่มมากขึ้น แบบลูกหนี้ร่วมหรือรับผิดร่วมกันหรือแทนกัน เช่น
            เกินเกณฑ์ที่กฎหมายก�าหนดจึงกลายมาเป็นรัฐวิสาหกิจ เจ้าหน้าที่ทุจริต คนอนุมัติเงิน คนจ่ายเงิน หรือผู้มีส่วน

            ตามพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๒๒  เกี่ยวข้องแต่ขาดความระมัดระวังเป็นความประมาท
            คณะกรรมการกฤษฎีกาเห็นว่าไม่ใช่หน่วยงานของรัฐ เลินเล่ออย่างร้ายแรง ปัจจุบันไม่ได้ใช้หลักลูกหนี้ร่วม

            เพราะไม่ใช่รัฐวิสาหกิจตั้งแต่เริ่มแรก ส่วนรัฐวิสาหกิจที่  ในส่วนเจ้าหน้าที่ที่ทุจริต กระทรวงการคลังวางแนวทาง
            แปลงสภาพไปแล้ว เช่น บริษัท ปตท. บริษัทการบินไทย  ในการเรียกให้ชดใช้เงินคืนเต็มจ�านวนและก�าหนด
            ไม่อยู่ภายใต้พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของ หลักเกณฑ์ความรับผิดส�าหรับเจ้าหน้าที่ที่ไม่ทุจริตต้อง

            เจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙                           รับผิด ๔๐% ๒๐% ลดหลั่นกันลงไปตามจ�านวนและ
                                                            ไม่เรียกให้รับผิดอย่างลูกหนี้ร่วมเหมือนในอดีตที่ผ่านมา
                    หน่วยงานของรัฐที่ไม่ได้อยู่ในนิยามอาจมี
            กฎหมายบัญญัติเพิ่มเติมในพระราชกฤษฎีกา เพราะ     ตามพระราชบัญญัติฉบับนี้จะไม่ฟ้องคดีล้มละลายกับ

            กฎหมายบัญญัตินิยามให้อยู่ภายใต้หน่วยงานทาง      เจ้าหน้าที่ที่ไม่มีเงินมาชดใช้ ยกเว้นกรณีมีพฤติการณ์
            ปกครอง ในต่างประเทศไม่ได้บัญญัติเรื่องการปฏิบัติ  ประพฤติชั่วอย่างร้ายแรงท�าให้ไม่สามารถช�าระหนี้ได้

            งานของเจ้าหน้าที่ไว้แต่พิจารณาจากการจัดท�าบริการ       การกระท�าละเมิดทางปกครองที่อยู่ในอ�านาจ
            สาธารณะให้แก่ทางราชการจะได้รับความคุ้มครองจาก   ศาลปกครองตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๓) คือ การใช้
            หลักความรับผิดทางละเมิดเป็นพิเศษ แต่ประเทศไทย   อ�านาจจากการออกกฎ ออกค�าสั่ง ละเลยล่าช้า ในการ

            ยังติดปัญหาเรื่องนิยามจึงเปิดช่องให้เพิ่มเติมได้ เช่น   ปฏิบัติตามกฎหมาย ในการปฏิบัติตามหน้าที่ที่มิได้เกิด
            องค์การมหาชน มหาวิทยาลัยของรัฐที่ไม่เป็นส่วนราชการ   จากการออกกฎ ออกค�าสั่ง เช่น การกระท�าทางกายภาพ

            ในภายหลังมีการแก้ไขเพิ่มเติมพระราชกฤษฎีกาให้ถือว่า  หรือปฏิบัติการทางปกครอง เช่น แพทย์ลืมกรรไกรไว้ใน
            หน่วยงานของรัฐ ในส่วนหน่วยงานอื่น ๆ หรือสภาวิชาชีพ   ท้องคนไข้ต้องฟ้องคดีต่อศาลยุติธรรม ซึ่งแตกต่างจาก

            ต่าง ๆ หน่วยธุรการของศาล หรือองค์กรอิสระ เช่น    ศาลขัดกันของฝรั่งเศสคดีที่เป็นต้นก�าเนิดการแยกเขต
            คณะกรรมการการเลือกตั้ง เป็นต้น กรณีลูกจ้างชั่วคราว  อ�านาจศาลคือคดี Blanco ศาลเห็นว่าเรื่องใดก็ตามที่
            จะไม่ได้รับความคุ้มครองเหมือนข้าราชการและลูกจ้าง  เกิดขึ้นจากการจัดท�าบริการสาธารณะต้องไปฟ้องคดีที่

            ประจ�า ถ้ามีการสอบสวนเจ้าหน้าที่ไปพร้อมกับลูกจ้าง  ศาลปกครอง โดยคณะกรรมการกฤษฎีกาได้ให้ความหมาย
            ชั่วคราวเสนอไปที่กรมบัญชีกลางจึงจะได้รับการพิจารณา  ของการกระท�าละเมิดอันเกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ไว้ว่า

            ตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่    หมายถึงกรณีกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือค�าสั่งของ
            พ.ศ. ๒๕๓๙ ส่วนคณะกรรมการแต่งตั้งขึ้นไม่ว่าระดับใด   ผู้บังคับบัญชาที่สั่งการตามกฎหมายก�าหนดให้เจ้าหน้าที่

            ถือว่าเป็นบุคคลที่ท�างานให้หน่วยงานของรัฐ กรณี  รัฐมีหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งและการปฏิบัติหน้าที่นั้นได้
            ประชาชนชาวบ้านธรรมดาในบางกรณีอาจได้รับความ      ก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลอื่นหรือแก่รัฐโดยจงใจ
            คุ้มครองเช่นในบางพื้นที่กระทรวงมหาดไทยได้มีการ   หรือประมาทเลินเล่อ นอกเหนือจากนี้ไม่ถือว่าเป็นการ

            จัดตั้งกลุ่มอาสาป้องกันภัยแจกปืนและกระสุนให้ป้องกัน  กระท�าในการปฏิบัติหน้าที่
            ภัย หากน�าอาวุธปืนและกระสุนของทางราชการไปใช้           กรณีเจ้าหน้าที่อาศัยต�าแหน่งและโอกาสปฏิบัติ

            ย่อมได้รับความคุ้มครองด้วย                      หน้าที่กระท�าการทุจริต คณะกรรมการกฤษฎีกามีความ
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43