Page 43 - annual 2561
P. 43
35
ไม่รับคดีไว้พิจารณามันผิด Nature ศาลปกครองจึงพัฒนา ๕. ความรับผิดตามระเบียบการเบิกจ่ายเงิน
หลักขึ้นมาใหม่ว่า การตัดสินใจไม่ต่อสัญญา ถือเป็นค�าสั่ง จากคลัง การเก็บรักษาเงินและการน�าเงินส่งคลัง พ.ศ.
ทางปกครองฟ้องเพิกถอนค�าสั่งได้ ขณะเดียวกันการต่อ ๒๕๕๑ ออกตามมาตรา ๒๑ ของพระราชบัญญัติวิธีการ
สัญญาก็เป็นหน้าที่เหมือนกันเพราะว่าเป็นมติของ งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๐๒ ซึ่งพระราชบัญญัติวินัยการเงิน
คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น และการคลังของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑ ก�าหนดว่าให้ใช้ระเบียบ
(กถ.) ที่วางแนวไว้ว่า ถ้าความจ�าเป็นมีอยู่ และงบประมาณ ดังกล่าวได้จนกว่าจะมีการออกระเบียบตามกฎหมายใหม่
มีอยู่ และผลการประเมินการท�างานสี่ปีต่อเนื่องใช้ได้ ระเบียบนี้ก�าหนดอ�านาจหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ในการ
ถ้ามีความจ�าเป็นก็ต้องจ้าง ซึ่งก็เป็นหลักใหม่ในการขยาย เบิกจ่ายต้องท�าเอกสารอะไรบ้างซึ่งจะน�ามาซึ่งความ
อ�านาจในการรับฟ้องเพื่อตรวจสอบเจ้าหน้าที่ของรัฐว่า รับผิดเป็นจ�านวนมาก เพราะว่าถ้าหากเบิกเงินจากคลัง
ใช้ช่องว่างนี้ในการเรียกรับเงินส�าหรับคนที่ประสงค์ต่อ ไปแล้วสูญหาย รับเงินมาแล้วไม่น�าส่งคลัง ต้องถูก
สัญญา
สอบสวนความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ น�าไปสู่
๒. ความรับผิดของเจ้าหน้าที่ตามพระราช คดีที่อยู่ในอ�านาจของศาลปกครอง
บัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน
พ.ศ. ๒๕๖๑ ตามรัฐธรรมนูญปี ๒๕๖๐ การตรวจเงินแผ่นดิน ส่วนเรื่องการแบ่งอ�านาจศาล การวินิจฉัยชี้ขาด
ได้เปลี่ยนแปลง concept ส�าคัญ เดิมอ�านาจหลักในการ อ�านาจหน้าที่ระหว่างศาล และการขัดกันของค�าพิพากษา
ตรวจเงินแผ่นดินอยู่ที่คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ที่ถึงที่สุด คงทราบดีกันแล้วว่าเป็นการแบ่งอ�านาจระหว่าง
ปัจจุบันอ�านาจหลักอยู่ที่ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน ศาลปกครองกับศาลยุติธรรม และมีรัฐธรรมนูญวางหลัก
คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินมีหน้าที่ออกหลักเกณฑ์ ไว้ตั้งแต่มาตรา ๑๙๔ ถึงมาตรา ๑๙๗ โดยอ�านาจของ
ออกนโยบาย แต่ไม่มีอ�านาจลงโทษทางวินัย การเงิน ศาลปกครองถูกบัญญัติไว้ในมาตรา ๑๙๗ ถือว่าเป็นการ
การคลัง ไม่สามารถลงไปตรวจเอง ไม่สามารถวินิจฉัย เขียนขอบเขตอ�านาจของศาลปกครองอย่างสอดคล้องกับ
เกี่ยวกับบัญชีหรือสั่งให้แก้ไขใด ๆ หรือให้คืนเงินได้ หลักวิชาการ “ศาลปกครองมีอ�านาจพิจารณาพิพากษา
๓. ความรับผิดตามพระราชบัญญัติวินัยการ คดีปกครองอันเนื่องมาจากการใช้อ�านาจทางปกครอง
เงินและการคลัง พ.ศ. ๒๕๖๑ ซึ่งได้กล่าวไปแล้วว่าไม่ใช่ ตามกฎหมายหรือเนื่องมาจากการด�าเนินกิจการทาง
เรื่องการลงโทษทางวินัยการเงินและการคลัง แต่เป็นเรื่อง ปกครอง ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ” ศาลปกครอง
ครอบคลุมตั้งแต่การจัดเก็บภาษี การท�าพระราชบัญญัติ เกิดขึ้นเพื่อควบคุมการใช้อ�านาจของฝ่ายปกครอง ไม่ให้
งบประมาณรายจ่าย การใช้จ่ายเงินจากคลัง ครอบคลุม ฝ่ายปกครองใช้อ�านาจตามอ�าเภอใจในการละเมิดสิทธิ
ทั้งหมดเพื่อดึงอ�านาจมาจากส�านักงบประมาณ ซึ่งส�านัก เสรีภาพของประชาชน เดิมทีของฝรั่งเศสใช้หลักที่เรียกว่า
งบประมาณก็ตอบโต้อยู่ โดยหาทางออกด้วยการออก Public Service อะไรที่เกี่ยวกับการบริการสาธารณะนั้น
พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณฉบับใหม่ ซึ่งต้องดูว่า ถ้าเกิดข้อพิพาทขึ้นอยู่ในอ�านาจของศาลปกครองทั้งหมด
กฎหมายทั้งสองฉบับนี้มันเกื้อกูลกัน หรือปีนเกลียวกัน ตอนหลังนักวิชาการเห็นว่า Public Service มีช่องว่าง ใช้
๔. ความรับผิดตามพระราชบัญญัติความรับผิด concept ใหม่ดีกว่า คือใช้หลัก Public Power เรียกว่า
ทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ ครอบคลุมความ puissance publique หรือเรียกว่า อ�านาจมหาชน ถ้า
รับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ทั้งหมด ซึ่งแบ่งเป็น มีการใช้อ�านาจมหาชน เป็นการใช้อ�านาจตามกฎหมาย
สามส่วน หนึ่งคือความรับผิดส่วนตัว สองความรับผิดจาก แม้จะไม่เป็นส่วนราชการถ้าใช้อ�านาจมหาชน เช่น
การปฏิบัติหน้าที่ แต่เป็นละเมิดทางปกครอง สามความ สภาทนายความ เนติบัณฑิตยสภา ถือเป็นคดีอยู่ในอ�านาจ
รับผิดจากการปฏิบัติหน้าที่ แต่เป็นละเมิดทางแพ่ง ของศาลปกครอง ท่านมีชัยก็เลยเอาทั้งหลัก Public