Page 22 - คำอธิบายการใช้วิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์
P. 22

๑๕


                              ๓) สถานะความเปนตนฉบับของเอกสารที่ยื่นผานระบบรับสงอิเล็กทรอนิกส

                              การนําเสนอหรือเก็บรักษาเอกสารในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกสแทนกระดาษนั้น


               จะไดรับการยอมรับทางกฎหมายวาเปน “ตนฉบับ” ก็ตอเมื่อผูใชขอมูลอิเล็กทรอนิกสไดปฏิบัติตาม
               เกณฑขั้นต่ํา ๒ ประการ คือ

                                     ๑) ขอมูลอิเล็กทรอนิกสนั้นใชวิธีการที่เชื่อถือไดในการรักษาความถูกตอง
               ของขอความตั้งแตการสรางขอความเสร็จสมบูรณ และ

                                                                        ๒๑
                                     ๒) สามารถแสดงขอความในภายหลังได
                              อันเปนหลักการเดียวกับพระราชบัญญัติ วาดวยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. ๒๕๔๔

               มาตรา ๑๐ เนื่องจากโดยสภาพของขอมูลอิเล็กทรอนิกสลวนแลวแตเปนสําเนา ไมมีสภาพเปนตนฉบับได

               กฎหมายจึงตองรับรองขอมูลอิเล็กทรอนิกสดังกลาวใหถือวาเปนตนฉบับหากไดปฏิบัติตามเกณฑขั้นต่ํา

               สองประการขางตนแลว วิธีการดังกลาวยอมทําใหเกิดความนาเชื่อถือในความถูกตองของขอมูล
               อิเล็กทรอนิกสนั้นวาจะมีขอความอยางเอกสารตนฉบับซึ่งระบบรับสงอิเล็กทรอนิกส (e-Filing System)

               และระบบบริการออนไลนศาลยุติธรรม (CIOS) ประกอบกับประกาศสํานักงานศาลยุติธรรม เรื่อง หลักเกณฑ

               วิธีการและเงื่อนไขเกี่ยวกับการใชวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส ไดกําหนดหลักเกณฑในการจัดทํา

               เอกสารเพื่อสงมาในระบบอิเล็กทรอนิกสโดยใชมาตรฐานดังกลาว ดังนั้น เอกสารรูปแบบอิเล็กทรอนิกส

               ที่สงมาในระบบจึงเปนไปตามมาตรฐานนี้แลว
                              คูความสามารถยื่นพยานเอกสารและพยานวัตถุในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกสผาน

               ระบบรับสงอิเล็กทรอนิกสได โดยใหถือวาพยานเอกสารและพยานวัตถุที่ยื่นในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกส 

                                                   ๒๒
               เปนตนฉบับหรือเอกสารเทียบเทาฉบับเดิม  ทั้งนี้ ในการยื่นพยานเอกสารและพยานวัตถุดังกลาวผานระบบ
               รับสงอิเล็กทรอนิกสจะตองอางในบัญชีระบุพยานและศาลยังคงมีหนาที่สั่งรับหรือไมรับพยานเอกสาร

               และพยานวัตถุในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกสตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๘๘

                              สําหรับการรับฟงและโตแยงพยานเอกสารในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกสนั้น ยังคงตอง

               พิจารณาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง ลักษณะ ๔ พยานหลักฐาน เชน ไมตัดสิทธิคูความ



                       ๒๑  ขอกําหนดของประธานศาลฎีกา วาดวยวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. ๒๕๖๓ ลงวันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๖๓
               ขอ ๑๗ “ในกรณีที่กฎหมายกําหนดใหนําเสนอหรือเก็บรักษาขอความใดในสภาพที่เปนมาแตเดิมอยางเอกสารตนฉบับ ถาไดนําเสนอ
                                                    ิ
               หรือเก็บรักษาในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกส โดยใชวธีการที่เชื่อถือไดในการรักษาความถูกตองของขอความตั้งแตการสรางขอความ
               เสร็จสมบูรณ และสามารถแสดงขอความนั้นในภายหลัง ใหถือวาไดมีการนําเสนอหรือเก็บรักษาเปนเอกสารตนฉบับตามกฎหมายแลว”

                       ๒๒  ขอกําหนดของประธานศาลฎีกา วาดวยวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. ๒๕๖๓ ลงวันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๖๓
               ขอ ๑๘ “พยานเอกสารและพยานวัตถุที่คูความประสงคจะอางอิง ใหยื่นในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกสผานระบบรับสง

               อิเล็กทรอนิกส และใหถือวาพยานเอกสารและพยานวัตถุดังกลาวเปนตนฉบับหรือเอกสารเทียบเทาฉบับเดิม
                       กรณีการยื่นพยานเอกสารตามวรรคหนึ่ง คูความไมตองสงสําเนาใหคูความฝายอื่น เวนแตคูความฝายนั้นไมอาจ
               เขาถึงขอมูลอิเล็กทรอนิกสนั้นได”
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27