Page 19 - คำอธิบายการใช้วิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์
P. 19

๑๒


                              ๕) การจัดใหมีวิธีการเพื่อใหสามารถตรวจสอบยอนหลังเกี่ยวกับการเขาถึง เปลี่ยนแปลง

               ลบ หรือถายโอนขอมูลสวนบุคคล ใหสอดคลองเหมาะสมกับวิธีการและสื่อที่ใชในการเก็บรวบรวม

               ใชหรือเปดเผยขอมูลสวนบุคคล

                       ทั้งนี้ เหตุผลในการประกาศใชกฎหมายและประกาศดังกลาว เพื่อปองกันการลวงละเมิดสิทธิ
               ความเปนสวนตัวของขอมูลสวนบุคคล โดยเฉพาะในปจจุบันที่มีความกาวหนาของเทคโนโลยีทําให

               การเก็บรวบรวม ใช หรือเปดเผยขอมูลสวนบุคคล ทําไดโดยงาย สะดวก และรวดเร็ว ดวยเหตุนี้

               การพิจารณาคดีโดยเฉพาะอยางยิ่งการพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส จึงจําเปนตองคํานึงถึงการคุมครอง

               ขอมูลสวนบุคคลของผูเกี่ยวของทุกฝาย เพื่อเปนการคุมครองสิทธิความเปนสวนตัวและเปนการสอดคลอง

               ตามกฎหมายและประกาศดังกลาว โดยการปฏิบัติตามแนวทางและขอพึงปฏิบัติตาง ๆ ที่จะไดกลาวถึง
               ตอไปในหมวด ๒ ของคําอธิบายฉบับนี้ ซึ่งถือไดวาเปนมาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของ

               ขอมูลสวนบุคคลอยางหนึ่งตามที่กฎหมายและประกาศดังกลาวกําหนดไว

                                                                                                        ั
                       อยางไรก็ตาม ถึงแมพระราชบัญญัติคุมครองขอมูลสวนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ จะยกเวนไมใชกบ
               การพิจารณาคดีของศาล แตสํานักงานศาลยุติธรรมก็ใหความสําคัญกับการคุมครองขอมูลสวนบุคคล

               จึงกําหนดใหศาลใชแอปพลิเคชันที่มีความปลอดภัยของขอมูล และมีขอหามไมใหมีการบันทึกภาพและ

               เสียงหรือเผยแพรภาพและเสียงกระบวนพิจารณาที่ทําทางออนไลน


                       ๑.๒.๖ หลักการที่แตกตางจากการใชวิธีพิจารณาความแพงทั่วไป

                       การดําเนินกระบวนพิจารณาดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสเปนการยอมรับใหกระบวนพิจารณา

               แบบเดิมสามารถทําในรูปแบบอิเล็กทรอนิกสหรือขอมูลอิเล็กทรอนิกสไดตามเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป

               โดยเฉพาะเทคโนโลยีดิจิทัล สวนขั้นตอนการพิจารณาตาง ๆ ของศาลและหลักกฎหมายวิธีพิจารณาความ
               ยังคงเปนไปตามที่บัญญัติไวในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง หรือหากมีกฎหมายกําหนด

               วิธีพิจารณาคดีนั้น ๆ ไวเปนการเฉพาะ เชน คดีมโนสาเร คดีผูบริโภค ก็ตองนําวิธีพิจารณาคดีดังกลาว

               มาใชบังคับ เพียงแตขอกําหนดของประธานศาลฎีกา วาดวยวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. ๒๕๖๓

               ไดกําหนดรายละเอียดของการดําเนินกระบวนพิจารณาดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสเพื่อความสะดวก

               รวดเร็วและผอนคลายความเครงครัดของกระบวนพิจารณารูปแบบเดิมบางเรื่องมากขึ้น อันเนื่องมาจาก

               ปจจัยดานเทคโนโลยีและผูใชงาน เชน การยนหรือขยายระยะเวลา ซึ่งไดบัญญัติไวแลวตามประมวล

               กฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๓ หรือการดําเนินกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบหรือผิดหลง
               ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๗ เพียงแตการใชงานระบบอิเล็กทรอนิกสนั้น

                                                                                                  
                                                                                          
                                                                                                     ั
                                                                                                        ั
                                                                                        ิ
               อาจเกิดความผิดพลาดได ไมวาจะเปนดวยตัวผูใชงานเองหรือระบบอิเลกทรอนกส การเครงครดกบ
                                                                                 ็
               วิธีพิจารณาความแบบเดิมอาจทําใหไมสอดคลองกับพฤติการณที่เกิดขึ้น บทบัญญัติดังกลาวจึงเปนเพียง
               ใหอํานาจศาลใชดุลพินิจที่ผอนคลายมากขึ้นและสอดคลองกับปญหาที่เกิดจากการใชงานทางอิเล็กทรอนิกส
               โดยสภาพ แตทั้งนี้ศาลยอมตองพิจารณาถึงความสุจริตของคูความที่อางเหตุนั้นดวย
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24