Page 15 - คำอธิบายการใช้วิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์
P. 15

๘


                       ๑.๒.๓ การพิจารณาคดีโดยเปดเผย

                       ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๓๖ บัญญัติวา “การนั่งพิจารณาคดีจะตองกระทํา

               ในศาลตอหนาคูความที่มาศาลและโดยเปดเผย...” โดยมีขอพิจารณาเกี่ยวกับบทบัญญัติดังกลาวและการ

               ใชวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส ดังนี้

                              ๑) การนั่งพิจารณาคดีจะตองกระทําในศาล
                              ประกาศสํานักงานศาลยุติธรรมเรื่อง หลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขเกี่ยวกับการใช

               วิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส ขอ ๒๑ กําหนดวาการนั่งพิจารณาทางระบบอิเล็กทรอนิกสใหดําเนินการ

               ในหองพิจารณา ประกอบกับการนั่งพิจารณาโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสจะตองมีเจาหนาที่ศาลและ

               อุปกรณมากกวาการนั่งพิจารณาในกรณีปกติ ดังนั้น การนั่งพิจารณาคดีที่ใชวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส

               ผูพิพากษาและเจาหนาที่จึงตองกระทําในหองพิจารณาของศาล อยางไรก็ตาม ในกรณีมีเหตุฉุกเฉิน

               หรือเปนการจําเปน ศาลมีอํานาจสั่งกําหนดใหมีการนั่งพิจารณา ณ สถานที่อื่นนอกที่ทําการศาลก็ได
                                                                                                        ๑๑
                                                                          ๑๒
               ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง
                              ๒) การนั่งพิจารณาคดีจะตองกระทําตอหนาคูความที่มาศาล

                              การที่ศาลอนุญาตใหใชวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส เนื่องจากคูความหรือ

               พยานฝายที่รองขอไมสามารถเดินทางมาศาลได หรือมีความจําเปนอื่น ๆ ที่ศาลเห็นสมควรวา คูความ

               หรือพยานนั้นไมจําเปนตองเดินทางมาศาล ดังนั้น โดยลักษณะของการนั่งพิจารณาคดีโดยวิธีการ
               ทางอิเล็กทรอนิกสคูความหรือพยานนั้นจึงมิไดมาปรากฏตัวที่ศาลโดยกายภาพ แตอยูนอกศาลและ

               ปรากฏตัวเปนภาพและเสียงผานสื่ออิเล็กทรอกนิกส อยางไรก็ตาม โดยอาศัยขอกําหนดประธานศาลฎีกา

               วาดวยวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. ๒๕๖๓ ขอ ๑๓ ประกอบหลักเกณฑและวิธีการที่

               สํานักงานศาลยุติธรรมประกาศกําหนด  การนั่งพิจารณาที่คูความหรือพยานบุคคลอยูนอกศาล
                                                    ๑๓


                       ๑๑  สํานักงานศาลยุติธรรมไดกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับแนวทางการนั่งพิจารณาโดยใชวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสนอก
               ที่ทําการไวตามหนังสือสํานักงานศาลยุติธรรม ดวนที่สุด ที่ ศย ๐๑๖/ว ๘๔๐ ลงวันที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๖๔ เรื่อง แจงแนวทางการ

               นั่งพิจารณาโดยใชวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสนอกที่ทําการ
                       ๑๒  ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๓๕ “ถาประมวลกฎหมายนี้มิไดบัญญัติไวเปนอยาง

               อื่น การนั่งพิจารณาคดีที่ยื่นไวตอศาลใดจะตองกระทําในศาลนั้นในวันที่ศาลเปดทําการและตามเวลาทํางานที่ศาลได
               กําหนดไว แตในกรณีมีเหตุฉุกเฉินหรือเปนการจําเปนศาลจะมีคําสั่งกําหนดการนั่งพิจารณา ณ สถานที่อื่น หรือใน
               วันหยุดงาน หรือในเวลาใด ๆ ก็ได
                       ใหผูพิพากษาและเจาพนักงานศาลซึ่งปฏิบัติงานในวันหยุดงาน หรือในเวลาใด ๆนอกเวลาทําการปกติไดรับ

               คาตอบแทนเปนพิเศษ ตามระเบียบที่กระทรวงยุติธรรมกําหนด โดยไดรับความเห็นชอบจากกระทรวงการคลัง”
                       ๑๓  ประกาศสํานักงานศาลยุติธรรม เรื่อง หลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขเกี่ยวกับการใชวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส

               ลงวันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ขอ ๑๔ “การนั่งพิจารณาที่คูความหรือบุคคลที่เกี่ยวของในคดีอยูนอกศาลโดยวิธีการทาง
               อิเล็กทรอนิกส ใหดําเนินการทางระบบอิเล็กทรอนิกสหรือแอปพลิเคชันที่สํานักงานศาลยุติธรรมกําหนดที่สามารถสื่อสารภาพ
               และเสียงไดอยางชัดเจนและตอเนื่อง โดยถือวาบุคคลนั้นไดมาดําเนินกระบวนพิจารณาที่ศาล”
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20