Page 13 - คำอธิบายการใช้วิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์
P. 13

๖


               เครื่องพิมพเอกสาร (printer) เครื่องสแกนเอกสาร (scanner) โทรศัพทเคลื่อนที่สมารทโฟน (Smartphone)

               อินเทอรเน็ต เปนตน ซึ่งอุปกรณดังกลาวตองสามารถติดตั้งแอปพลิเคชันที่ใชในการพิจารณาคดี

               ทางอิเล็กทรอนิกสดวย

                              ๒) ทักษะ (skill) หมายถึง ทักษะความสามารถในการใชงานอุปกรณอิเล็กทรอนิกส
               ซึ่งทักษะเปนปจจัยสําคัญตอการเขาถึงทางดานเทคโนโลยี เชน มีอุปกรณคอมพิวเตอรแตไมสามารถ

               ใชงานได มีอุปกรณสมารทโฟนแตสามารถใชงานไดเพียงทักษะพื้นฐาน ยอมถือวาไมมีความพรอม

               ในการเขาถึงเทคโนโลยีทําใหไมพรอมที่จะใชบริการทางการศาลในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส

                              ดวยเหตุนี้ หากคูความไมมีความพรอมในการเขาถึงเทคโนโลยีตามปจจัยดังกลาวขางตน

               ไมวาสวนหนึ่งสวนใด ศาลไมอาจบังคับใหใชวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสกับคูความฝายที่ไมพรอม
               ทางเทคโนโลยีได อยางไรก็ตาม ความสามารถในการเขาถึงเทคโนโลยีเปนปญหาขอเท็จจริงและ

               เปนเรื่องเฉพาะตัว เมื่อมีคูความกลาวอางวาตนไมสามารถเขาถึงเทคโนโลยีศาลก็พึงใชดุลพินิจวาคูความ

               ไมมีความพรอมในการเขาถึงเทคโนโลยีโดยแทจริงหรือเปนเพียงขออางในการประวิงคดี เชน

               เมื่อพิจารณาจากสถานะของคูความแลวนาจะจัดหาอุปกรณที่จําเปนตองใชในการดําเนินกระบวนพิจารณา

               ดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสหรือไม ตัวอยางเชน หากคูความเปนนิติบุคคลที่ประกอบธุรกิจเปนปกติ

               และมีทนายความขออางที่วาไมสามารถจัดหาอุปกรณที่จําเปนจําเปนตองใชในการดําเนินกระบวน

               พิจารณาดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสอาจฟงไมขึ้น อีกทั้งการอนุญาตใหคูความฝายที่มีความพรอม
               ในการดําเนินกระบวนพิจารณาดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสใชวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสโดยคูความอีกฝาย

               ยังสามารถเดินทางมาศาลและใชวิธีพิจารณาแบบปกติก็มิไดทําใหเสียความเปนธรรม



                       ๑.๒.๒ การคํานึงถึงสิทธิในการตอสูคดีของคูความ
                       เมื่อศาลพิจารณาถึงความสามารถของคูความในการใชวิธีการพิจารณาทางอิเล็กทรอนิกสแลว

               ประเด็นตอมาที่ศาลตองพิจารณาก็คือ การพิจารณาดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสกอใหเกิดความไมเปนธรรม

               หรือสิทธิในการดําเนินคดีหรือตอสูคดีของคูความฝายใดฝายหนึ่งลดลงหรือไม กลาวคือ

                       การที่ศาลจะใชดุลพินิจในการสั่งใหคดีใดใชวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกสนั้น นอกจากศาลจะตอง

               คํานึงถึงความสามารถในการเขาถึงเทคโนโลยีของคูความแลว สิ่งสําคัญอีกประการหนึ่งที่ศาลตองคํานึงถึง

               คือ การใชวิธีพิจารณาคดีอิเล็กทรอนิกสนั้นตองไมทําใหสิทธิในการตอสูคดีของคูความลดนอยลง

               อันจะทําใหเกิดความไดเปรียบเสียเปรียบในทางคดี ขอกําหนดของประธานศาลฎีกา วาดวยวิธีพิจารณาคดี
                                                     ๙
               ทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. ๒๕๖๓ ขอ ๑๓  เพื่อใหเกิดความเปนธรรมแกคูความทั้งสองฝาย ดังนั้น


                       ๙  ขอกําหนดของประธานศาลฎีกา วาดวยวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. ๒๕๖๓ ลงวันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๖๓

                                                                                 ิ
               ขอ ๑๓ “ศาลอาจกําหนดใหมีการนั่งพิจารณาและบันทึกคําเบิกความพยานโดยวิธีการทางอเล็กทรอนิกสทั้งหมดหรือบางสวน
               ก็ได เพื่อใหการพิจารณาเปนไปดวยความสะดวก รวดเร็วและเที่ยงธรรม โดยตองไมทําใหสิทธิในการตอสูคดีของคูความลด
               นอยลง ทั้งนี้ หลักเกณฑและวิธีการใหเปนไปตามที่สํานักงานศาลยุติธรรมประกาศกําหนด”
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18