Page 12 - คำอธิบายการใช้วิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์
P. 12

๕


                              ๔) ความปลอดภัยของคูความในสถานการณพิเศษ

                              ในสถานการณการฉุกเฉิน เชน การแพรระบาดของโรคติดตอ การเกิดภัยธรรมชาติ

               การจลาจล ฯลฯ อาจทําใหประชาชนไมสะดวกในการเดินทางมาศาล การพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส

               ชวยใหประชาชนที่มีความจําเปนตองมาศาลสามารถเลือกใชวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกสแทน
               การเดินทางมาศาลในสถานการณพิเศษได



               ๑.๒ หลักการสําคัญของการพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส

                       ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๓๔/๑ และขอ ๔ ของขอกําหนดของ
               ประธานศาลฎีกา วาดวยการพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. ๒๕๖๓ กําหนดวัตถุประสงค

               ในการดําเนินกระบวนพิจารณาดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสวาจะตองเปนไปเพื่อใหการดําเนินกระบวน

               พิจารณาเปนไปโดยสะดวก รวดเร็วและเที่ยงธรรม และประกาศสํานักงานศาลยุติธรรม เรื่อง หลักเกณฑ

               วิธีการและเงื่อนไขเกี่ยวกับการใชวิธีพิจารณาทางอิเล็กทรอนิกส กําหนดใหเมื่อศาลเห็นสมควรหรือ

               คูความฝายหนึ่งฝายใดรองขอ ศาลอาจใชดุลพินิจกําหนดใหมีการนั่งพิจารณาโดยที่คูความหรอบคคล
                                                                                                   ื
                                                                                                      ุ
                                                                       ๗
               ที่เกี่ยวของในคดีอยูนอกศาลโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสก็ได  ซึ่งการดําเนินกระบวนพิจารณาดวย
               วิธีดังกลาวมีขอที่ตองพิจารณา ดังนี้


                       ๑.๒.๑ การคํานึงถึงความสามารถในการเขาถึงเทคโนโลยีของคูความ

                       ในการดําเนินกระบวนพิจารณาดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส ศาลตองคํานึงถึงความสะดวกและ

                                                              ๘
               ประหยัดในการเขาถึงเทคโนโลยีของคูความดวยเสมอ  โดยใชดุลพินิจพิเคราะหเปนรายกรณีวามีเหตุผล
                                                                                       ่
                                                                                    
               สมควรใหมีการดําเนินกระบวนพิจารณาดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนกสหรอไม เนืองจากความสามารถ
                                                                                 ื
                                                                            ิ
                                                                              
               ในการเขาถึงเทคโนโลยีของคูความแตละคนอาจแตกตางกันและเปนเรื่องเฉพาะตัวอันถือเปนขอจํากัด
               ตอการใชวิธีพิจารณาคดีอิเล็กทรอนิกส ซึ่งความพรอมในการเขาถึงเทคโนโลยีนั้นประกอบดวย
               ปจจัย ๒ สวน คือ

                              ๑) อุปกรณและซอฟตแวร (hardware and software) คูความตองมีอุปกรณที่สามารถ

               เขาถึงเทคโนโลยีได เชน คอมพิวเตอร โดยสามารถใชไดทั้งคอมพิวเตอรสวนบุคคลแบบตั้งโตะ (Desktop

               Computer) คอมพิวเตอรสวนบุคคลโนตบุก (Notebook Laptop) หรือแท็บเล็ตคอมพิวเตอร (Tablet)


                       ๗  ประกาศสํานักงานศาลยุติธรรม เรื่อง หลักเกณฑ วิธการและเงื่อนไขเกี่ยวกับการใชวิธีพจารณาทางอิเล็กทรอนิกส
                                                                                    
                                                              ี
                                                                                       ิ
               พ.ศ. ๒๕๖๓ ลงวันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ขอ ๑๒ “เมื่อศาลเห็นสมควรหรือคูความรองขอ ไมวาคูความฝายใดฝายหนึ่งขาดนัด
               หรือไมก็ตาม ศาลอาจกําหนดใหมีการนั่งพิจารณาโดยที่คูความหรือบุคคลที่เกี่ยวของในคดีอยูนอกศาลโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส”
                       ๘  ขอกําหนดของประธานศาลฎีกา วาดวยวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. ๒๕๖๓ ลงวันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๖๓

               ขอ ๔ “เพื่อใหการดําเนินกระบวนพิจารณาเปนไปโดยสะดวก รวดเร็ว และเที่ยงธรรม เมื่อศาลเห็นสมควรหรือคูความรองขอ
               ศาลอาจกําหนดใหดําเนินกระบวนพิจารณาดวยวิธีการตามขอกําหนดนี้ โดยคํานึงถึงความสะดวกและประหยัดสําหรับคูความ
               ที่ยังไมสามารถเขาถึงเทคโนโลยีดวย ทั้งนี้ ประเภทคดี หลักเกณฑและวิธีการใหเปนไปตามที่สํานักงานศาลยุติธรรมประกาศกําหนด”
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17