Page 8 - คำอธิบายการใช้วิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์
P. 8

๑


                                                  หมวด ๑ : บททั่วไป






                       ในปจจุบันประชาชนมีความคุนเคยกับการนําเทคโนโลยีมาใชอํานวยความสะดวกในการทํางาน

               และในชีวิตประจําวันมากขึ้น “ศาลยุติธรรม” เปนองคกรตุลาการที่มีพันธกิจสําคัญในการอํานวย
               ความยุติธรรม พัฒนาและสรางระบบสนับสนุนการอํานวยความยุติธรรมใหมีความรวดเร็ว สะดวก

               ทันสมัย และเปนสากล จึงมีความจําเปนตองปรับตัวเพื่อตอบสนองตอความตองการของประชาชนและ

               เปนทางเลือกใหแกประชาชนในการเขารวมกระบวนพิจารณาของศาลไดโดยไมตองเดินทางมาศาล

               อันเปนการลดภาระคาใชจายและเพิ่มความสะดวกใหกับประชาชน โดยเฉพาะอยางยิ่งในสถานการณ

               การแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Coronavirus Disease: COVID-19) อีกทั้ง
               ยังสอดคลองกับแนวนโยบายประธานศาลฎีกาที่มุงกระจายการเขาถึงความยุติธรรม (Access to Justice)

               สูประชาชนในพื้นที่หางไกล และสรางกลไกการดําเนินกระบวนพิจารณาและพิพากษาคดีที่ทันสมัย

               แตกระนั้นก็ตาม การนําวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกสมาใชจําเปนตองจํากัดขอบเขตที่ชัดเจนแนนอน

               และยังคงตองคํานึงถึงหลักการสําคัญของกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง และตองเคารพตอสิทธิ

               ในกระบวนการยุติธรรมของประชาชนตามที่รัฐธรรมนูญรับรองและคุมครองไว เพื่อเปนหลักประกัน

               ใหแกประชาชนที่จะไดรับการพิจารณาคดีที่ถูกตอง รวดเร็ว และเปนธรรม

                       คําอธิบายการใชวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส สวนการพิจารณาคดีออนไลน เลมนี้
               มีวัตถุประสงคสําคัญเพื่อสนับสนุนและสรางแนวทางในการพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกสใหแกผูพิพากษา

               เพื่อใหผูพิพากษาสามารถพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกสไดโดยเหมาะสมแกคดีและเปนเอกภาพ

               ในแนวทางเดียวกัน


               ๑.๑ ที่มา ความหมายและประโยชนของการพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส


                       ๑.๑.๑ ที่มาของการพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส

                              ๑) การแกไขประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง

                              ศาลยุติธรรมเริ่มเขาสูระบบศาลอิเล็กทรอนิกส นับแตมีพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติม
               ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง (ฉบับที่ ๒๘) พ.ศ. ๒๕๕๘ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมาย

               วิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๓๔/๑ มาตรา ๕๑ วรรคสอง และมาตรา ๖๘ ใหประธานศาลฎีกามีอํานาจ

               ออกขอกําหนดโดยความเห็นชอบของที่ประชุมใหญศาลฎีกา เพื่อเปนอนุบัญญัติ หรือขอกําหนดกลาง

               กําหนดหลักการรองรับใหการดําเนินกระบวนพิจารณาของศาลในทุกขั้นตอน นับตั้งแตการฟองคดี

               การยื่นและสงคําคูความและเอกสาร การแจงคําสั่งของศาล การจัดทําสารบบความหรือสารบบคําพิพากษา
               การสืบพยานและการรับฟงพยานหลักฐาน การวินิจฉัยคดี การดําเนินกระบวนพิจารณาใด ๆ สามารถ
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13