Page 9 - คำอธิบายการใช้วิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์
P. 9

๒


               ดําเนินการโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสหรือกระทําในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกส เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให

               การพิจารณาพิพากษาคดีและการใหบริการประชาชนผูมีอรรถคดีเปนไปดวยความสะดวกรวดเร็ว

                              ๒) การพัฒนาระบบรับสงอิเล็กทรอนิกส

                              ในชวงเริ่มตน ประธานศาลฎีกาไดออกขอกําหนดของประธานศาลฎีกา วาดวยการยื่น
                                                                                  ๑
               สง และรับคําคูความและเอกสารทางระบบรับสงอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. ๒๕๖๐  กําหนดหลักการสําคัญให
               การยื่นฟองคดีสามารถทําไดผานระบบรับสงอิเล็กทรอนิกส โดยใหถือวาคําฟองและเอกสารที่ไดยื่นและ

               สงทางระบบรับสงอิเล็กทรอนิกสตลอดจนคําสั่งหรือการอื่นใดที่กระทําโดยผูพิพากษาหรือเจาหนาที่

               ถือวามีการลงลายมือชื่อโดยผูที่เกี่ยวของซึ่งเปนผูทํารายการ และสิ่งพิมพออกจากระบบรับสงอิเล็กทรอนิกส

               ใหถือวาเปนสําเนาที่ไดรับการรับรองตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงแลว
                              ๓) การพัฒนาสารบบและสํานวนความอิเล็กทรอนิกส

                              ตอมาประธานศาลฎีกาไดออกขอกําหนดของประธานศาลฎีกา วาดวยการจัดทํา

               สารบบความ สารบบคําพิพากษา และการรวบรวมเก็บรักษาเอกสารในสํานวนความในรูปแบบขอมูล

                                         ๒
               อิเล็กทรอนิกส พ.ศ. ๒๕๖๒  กําหนดหลักการสําคัญใหจัดทําสารบบความและสารบบคําพิพากษา
               หรือสํานวนความในรูปแบบอิเล็กทรอนิกสได รวมถึงสิ่งพิมพออกใหถือวาเปนสําเนาที่ไดรับรองตาม

               ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงและใหใชแทนตนฉบับได โดยไมตองขอคัดสําเนาและรับรอง

               ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง ตามมาตรา ๕๔ นอกจากนี้ ยังกําหนดใหการรับสงสํานวน
               ความและเอกสารที่ไดรวบรวมเก็บรักษาในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกสตามขอกําหนดดังกลาวระหวาง

               ศาลยังอาจใชวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสได

                              ๔) การพัฒนาวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส

                              นอกจากขอกําหนดของประธานศาลฎีกาทั้งสองฉบับที่เปนอนุบัญญัติรองรับการพัฒนา

               ระบบรับสงอิเล็กทรอนิกส (e-Filing System) และการพัฒนาสารบบและสํานวนอิเล็กทรอนิกส ประธาน
                                      
               ศาลฎีกาไดออกขอกําหนดของประธานศาลฎีกา วาดวยวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. ๒๕๖๓
                                                                                                         ๓
               มีสาระสําคัญกําหนดลักการเพื่อรองรับใหมีการดําเนินกระบวนพิจารณาดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส

               การจัดทําเอกสารในสํานวนความในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส การนั่งพิจารณาและบันทึกคําเบิกความพยาน

               โดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส การรับฟงพยานหลักฐานที่เปนขอมูลอิเล็กทรอนิกส การทําคําพิพากษา

               หรือคําสั่งและลงลายมือชื่อในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส การประชุมในศาลชั้นอุทธรณและศาลฎีกา


                                                                                                     
                       ๑  ประกาศราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เลม ๑๓๔ ตอนที่ ๔๙ ก วันที่ ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐ โดยใหมีผลใชบังคับ
               ตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป
                       ๒  ประกาศราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เลม ๑๓๖ ตอนที่ ๘๑ ก วันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๒ โดยใหมีผลใชบังคับ

               ตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป
                       ๓  ประกาศราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เลม ๑๓๗ ตอนที่ ๗๘ ก วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๓ โดยใหมีผลใชบังคับ
               ตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจานุเบกษาเปนตนไป
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14