Page 16 - คำอธิบายการใช้วิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์
P. 16

๙


               โดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส ซึ่งสามารถสื่อสารภาพและเสียงไดอยางชัดเจนและตอเนื่องดวยระบบ

               อิเล็กทรอนิกสที่ประกาศกําหนด ใหถือวาคูความหรือพยานนั้นไดมาดําเนินกระบวนพิจารณาที่ศาลแลว

                              ๓) การนั่งพิจารณาคดีจะตองกระทําโดยเปดเผย

                              การนั่งพิจารณาโดยเปดเผย คือการที่ศาลอนุญาตใหประชาชนเขาฟงการพิจารณา
               เพื่อความโปรงใสและคุมครองคูความจากการพิจารณาที่เปนการลับ ดังไดกลาวขางตนวา การที่ศาล

               อนุญาตใหใชวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกสศาลยังคงจะตองนั่งพิจารณาในศาล ประกอบกับประกาศ

               สํานักงานศาลยุติธรรม เรื่อง หลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขเกี่ยวกับการใชวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส

               ขอ ๒๑ กําหนดวา “การนั่งพิจารณาทางระบบอิเล็กทรอนิกสใหดําเนินการในหองพิจารณาโดยให

               ถายทอดภาพและเสียงของคูความหรือบุคคลที่เกี่ยวของในคดีที่ใชระบบอยูนอกศาลมาเผยแพรใน
               หองพิจารณาอยางเปดเผย” ดังนั้น ประชาชนจึงยังสามารถเขาฟงการพิจารณาในหองพิจารณาได

               หาใชการพิจารณาโดยไมเปดเผยไม

                              ขอสังเกต ตามระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม วาดวยการใหขาวและบริการ

               ขาวสารของศาลยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๔๕ ขอ ๑๓ วรรคหนึ่ง กําหนดวา การกระทําไมวาโดยวิธีการใด ๆ

               ใหปรากฏซึ่งภาพหรือเสียง หรือทั้งภาพและเสียง การถายภาพ ภาพยนตร บันทึกภาพหรือเสียง

               หรือการกระทําอยางอื่นในทํานองเดียวกันในระหวางการนั่งพิจารณาและพิพากษาคดีของศาลจะ

               กระทํามิได เวนแตเปนการกระทําในการพิจารณาคดีตามกฎหมาย” ดังนั้น แมศาลจะพิจารณาคดี
               โดยเปดเผย แตก็มีขอบเขตตามขอหามดังกลาว ซึ่งบังคับใชทั้งกับการนั่งพิจารณากรณีปกติและการนั่ง

               พิจารณาโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส



                       ๑.๒.๔ การดําเนินกระบวนพิจารณาเสมือนหนึ่งในหองพิจารณา
                       การนั่งพิจารณา หมายความวา การที่ศาลออกนั่งเกี่ยวกับการพิจารณาคดี เชน ชี้สองสถาน

               สืบพยาน ทําการไตสวน ฟงคําขอตาง ๆ และฟงคําแถลงการณดวยวาจา ซึ่งโดยหลักแลว การนั่งพิจารณาคดี

               ที่ยื่นไวตอศาลใดจะตองกระทําในศาลนั้นในวันที่ศาลเปดทําการและตามเวลาทํางานที่ศาลไดกําหนดไว

               ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๓๕ และคูความที่เกี่ยวของตองมาศาล มิฉะนั้น

               อาจสงผลตอรูปคดี เชน ถาคูความฝายใดไมมาศาลในวันสืบพยานคือวันที่ศาลเริ่มตนทําการสืบพยาน

               คูความฝายนั้นจะตกเปนผูขาดนัดพิจารณา ตามมาตรา ๒๐๐ วรรคหนึ่ง หรือคูความฝายใดไมมาศาล

               ในวันนัดชี้สองสถานหรือวันนัดอื่นที่มิใชวันสืบพยาน ถือวาคูความฝายนั้นสละสิทธิการดําเนินกระบวน
               พิจารณาของตนและทราบกระบวนพิจารณาที่ศาลดําเนินการไปในนัดนั้น ตามมาตรา ๑๘๓ ทวิ วรรคหนึ่ง

               และมาตรา ๒๐๐ วรรคสอง

                       อยางไรก็ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๓๔/๑ กําหนดใหประธานศาลฎีกา

               โดยความเห็นชอบของที่ประชุมใหญศาลฎีกามีอํานาจออกขอกําหนดเกี่ยวกับการฟองคดี การสืบพยาน

               และการรับพังพยานหลักฐาน การวินิจฉัยคดี ตลอดจนการดําเนินกระบวนพิจารณาใด ๆ ไดตามความจําเปน
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21