Page 20 - คำอธิบายการใช้วิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์
P. 20

๑๓


                              ๑) การยนหรือขยายระยะเวลา

                              การยนหรือขยายระยะเวลาในสวนของคดีแพงนั้นโดยทั่วไปจะเปนไปตามประมวลกฎหมาย

               วิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๓ กลาวคือ การขยายหรือยนระยะเวลาจะทําไดตอเมื่อมีพฤติการณพิเศษ

               และศาลไดมีคําสั่งหรือคูความมีคําขอกอนสิ้น หากจะขอขยายระยะเวลาตองมีพฤติการณพิเศษ

               หรือการที่คูความจะยื่นคําขอเมื่อพนกําหนดระยะเวลาดังกลาวไดนั้นจะตองปรากฏวามีเหตุสุดวิสัย
               จึงจะเขาหลักเกณฑในการขอขยายระยะเวลา แตในการดําเนินกระบวนพิจารณาดวยวิธีการ

               ทางอิเล็กทรอนิกสนั้น เมื่อศาลเห็นสมควรหรือเมื่อคูความรองขอ ศาลมีอํานาจยนหรือขยายระยะเวลาได

                                                              ๑๙
               ตามความจําเปนและเพื่อประโยชนแหงความยุติธรรม  กลาวคือ คูความไมจําเปนตองยื่นคําขอภายใน
               กําหนดระยะเวลาก็ได หากมีความจําเปนและเพื่อประโยชนความยุติธรรม ศาลอาจอนุญาตให

               ขยายระยะเวลาได นอกจากนั้น การดําเนินกระบวนพิจารณาดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสอาจมีขอจํากัด

               ทั้งในแงของเทคโนโลยีหรือผูใชงานเอง ศาลจึงควรคํานึงถึงเหตุปจจัยตาง ๆ ดวย
                              ตัวอยางเชน จําเลยไดรับอนุญาตใหยื่นคําใหการทางระบบรับสงอิเล็กทรอนิกสปรากฏวา

               ในวันสุดทายที่จําเลยอาจยื่นคําใหการได คอมพิวเตอรจําเลยเสียหายเนื่องจากตดไวรสคอมพวเตอร  
                                                                                        ิ
                                                                                             ั
                                                                                                    ิ
               ทําใหไมมีคอมพิวเตอรที่จะจัดทําคําใหการ หรือระบบไฟฟาหรืออินเทอเน็ตขัดของ ไมอาจใชอุปกรณ
               อิเล็กทรอนิกสได จึงยื่นคําใหการไมทัน และเลยเวลาทําการของศาลที่จะมายื่นคําใหการในรูปแบบ

               กระดาษแลว หรือแมวาเอกสารที่โจทกอางจะมีจํานวนไมมาก แตจําเลยไมสามารถอานเอกสารในรูปแบบ
               ขอมูลอิเล็กทรอนิกสได โดยตองจัดพิมพออกมา ซึ่งตองจัดหาอุปกรณเพิ่มเติมจึงใชเวลานาน ทําให

               ไมสามารถยื่นคําใหการไดทันภายในกําหนด หรือโจทกประสงคจะอางอิงบันทึกคําพยานในคดีอื่น

               แตมีการจัดเก็บบันทึกคําพยานในรูปภาพและเสียงทําใหโจทกตองถอดขอความออกมากอนจึงยื่นไมทัน

               เหลานี้ตางเปนขอจํากัดอันเนื่องมาจากปญหาทางเทคโนโลยีและผูใชงานเกี่ยวกับระบบอิเล็กทรอนิกส

               ในบางครั้งบางกรณีอาจมิใชพฤติการณพิเศษหรือเหตุสุดวิสัยหากเปนกรณีกระบวนพิจารณาโดยใช

               กระดาษแบบเดิม แตอาจเปนพฤติการณพิเศษหรือเหตุสุดวิสัยไดหากเปนกระบวนพิจารณาทางอิเล็กทรอนิกส

                                                                                                  
                                                                                                      ้
                                                                                                       
               ดังนั้น การใชดุลพินิจจึงตองคํานึงถึงความจําเปนหรือเพื่อประโยชนแหงความยุติธรรมในสวนนีดวย
               จะเห็นไดวา การดําเนินกระบวนพิจารณาดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสนี้ไดกําหนดหลักการที่ผอนคลาย
               กวาประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง

                              ๒) การดําเนินกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบหรือผิดหลง

                              โดยหลักแลวการเพิกถอนกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบในคดีแพงนั้นเปนไปตาม

               ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๗ ซึ่งกําหนดไวโดยเครงครัด กลาวคือ เมื่อมิไดปฏิบัติ



                       ๑๙  ขอกําหนดของประธานศาลฎีกา วาดวยวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. ๒๕๖๓ ลงวันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๖๓

               ขอ ๖ “ระยะเวลาตามที่กําหนดไวในขอกําหนดนี้หรือตามที่ศาลกําหนด เมื่อศาลเห็นสมควรหรือเมื่อคูความรองขอ ศาลอาจมี
               อํานาจยนหรือขยายไดตามความจําเปนและเพื่อประโยชนแหงความยุติธรรม”
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25