Page 23 - คำอธิบายการใช้วิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์
P. 23

๑๖


               อีกฝายในอันที่จะกลาวอางและนําพยานบุคคลมาสืบประกอบขออางวา พยานเอกสารในรูปแบบขอมูล

               อิเล็กทรอนิกสที่แสดงนั้นเปนเอกสารปลอมหรือไมถูกตองทั้งหมด หรือแตบางสวน หรือสัญญาหรือหนี้

               อยางอื่นที่ระบุไวในเอกสารนั้นไมสมบูรณ หรือคูความอีกฝายหนึ่งตีความหมายผิด ตามประมวลกฎหมาย

               วิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๙๔ วรรคสอง และมาตรา ๑๒๕ หากคูความอีกฝายคัดคานขอมูลอิเล็กทรอนิกส
               วาไมมีตนฉบับหรือตนฉบับนั้นปลอมทั้งฉบับหรือบางสวน คูความฝายที่อางขอมูลอิเล็กทรอนิกสก็จําตอง

               พิสูจนถึงความมีอยูของตนฉบับนั้น ในรูปแบบที่เปนตนฉบับทางกายภาพ เชน กระดาษ และตนฉบับใน

               รูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกส และเนื่องจากการยื่นและสงเอกสารในระบบรับสงอิเล็กทรอนิกสนั้น

               คูความแตละฝายสามารถเขาถึงขอมูลอิเล็กทรอนิกสดังกลาวในระบบไดอยูแลว จึงถือไดวาคูความอีกฝาย

               ไดรับสําเนาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๙๐ แลว จึงไมจําตองสงสําเนาเอกสาร
               ในรูปแบบกระดาษใหคูความอีกฝายอีก อันเปนการลดภาระความยุงยากและยังประหยัดคาใชจายแกคูความ

               แตมีขอยกเวนวา หากคูความอีกฝายไมอาจเขาถึงขอมูลอิเล็กทรอนิกสนั้นได ก็ยังตองจัดสงสําเนา

               ในรูปแบบกระดาษใหคูความอีกฝาย

                              สําหรับกรณีพยานวัตถุ หากศาลเห็นวาจําเปนตองตรวจดูพยานวัตถุเพราะไมสามารถใช

               วิธีการนําสืบพยานวัตถุจากภาพถายที่ยื่นผานระบบรับสงอิเล็กทรอนิกส ศาลอาจสั่งใหคูความฝายที่อาง

               พยานวัตถุนั้นสงพยานวัตถุตอศาล หรือนําสืบ ณ ที่ทําการของศาล

                              ในทางปฏิบัติ เดิมการยื่นฟองทางระบบรับสงอิเล็กทรอนิกส (e-Filing system) โจทก
               ยังตองเสียคาจัดทําเอกสาร เนื่องจากเอกสารทายฟองมีจํานวนมาก การจัดสงหมายเรียกและสําเนาคําฟอง

               รวมถึงเอกสารทายฟองจึงมีภาระคาใชจายสูง แตปจจุบันตามประกาศสํานักงานศาลยุติธรรม เรื่อง

               หลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขเกี่ยวกับการใชวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส ลงวันที่ ๑๕ ธันวาคม

               ๒๕๖๓ ขอ ๑๐ กําหนดใหมีวิธีการจัดสงเอกสารทายคําฟองในรูปแบบอิเล็กทรอนิกสใหแกจําเลย

               ในคดีผูบริโภคที่ยื่นฟองในระบบรับสงอิเล็กทรอนิกส (e-Filing system) โดยในหมายเรียกที่สงใหแกจําเลย
               นั้น จะปรากฏ QR Code ซึ่งจําเลยสามารถสแกนแลวจะปรากฏเอกสารทายคําฟองเพื่อเรียกดูได โดย

               โจทกจะตองยื่นคํารองพรอมระบุเหตุผลที่แสดงวาจําเลยสามารถเขาถึงเอกสารในรูปแบบขอมูล

               อิเล็กทรอนิกสได เชน จําเลยมีอุปกรณคอมพิวเตอร โทรศัพทเคลื่อนที่สมารทโฟน สัญญาณอินเทอรเน็ต ที่

               อยูสําหรับจัดสงจดหมายอิเล็กทรอนิกส หรือโจทกและจําเลยเคยติดตอสื่อสารกันโดยอาศัยชองทาง

               เทคโนโลยีดิจิทัล เชน การสงขอความผานแอปพลิเคชันไลน หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส  จึงไมตองมีการ
                                                                                          ๒๓
               สงสําเนาในรูปแบบกระดาษใหจําเลยอีก






                       ๒๓  ขอกําหนดของประธานศาลฎีกา วาดวยวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. ๒๕๖๓ ลงวันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๖๓

               ขอ ๑๘ วรรคสอง “กรณีการยื่นพยานเอกสารตามวรรคหนึ่ง คูความไมตองสงสําเนาใหคูความฝายอื่น เวนแตคูความฝายนั้น
               ไมอาจเขาถึงขอมูลอิเล็กทรอนิกสนั้นได”
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28