Page 214 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 214
วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชำานัญพิเศษ
ทางอาญา ตามพระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้า พ.ศ.2560 มาตรา 54 (1) ประกอบกับ
มาตรา 72 จึงทําให้มาตรฐานการพิสูจน์ คือ พิสูจน์โดยปราศจากสงสัย และยังต้องอาศัยพยาน
ึ
หลักฐานโดยตรง ซ่งโดยมากในต่างประเทศพยานดังกล่าวจะอยู่ในรูปพยานหลักฐานในการ
ี
ส่อสารของผู้ร่วมกระทําความผิดเป็นสําคัญ ท้งน้ในประเด็นดังกล่าวถือเป็นความท้าทายของ
ื
ั
ั
คณะกรรมการการแข่งขันทางการค้าในการพิสูจน์หาพยานหลักฐาน อีกท้งเกิดความท้าทาย
ี
ต่อศาลในฐานะองค์กรบังคับใช้กฎหมายโดยเฉพาะในประเด็นท่ว่า “จะสามารถยอมรับพยาน
แวดล้อมในคดีความผิดการแข่งขันทางการค้าเพื่อพิสูจน์ความผิดได้มากน้อยเพียงใด” เพื่อที่จะ
ื
ปรับสมดุลการส่งเสริมการแข่งขันทางการค้าท่เป็นธรรมและเพ่อคุ้มครองประโยชน์ผู้บริโภคและ
ี
เศรษฐกิจโดยรวม
7. บทส่งท้ายและค�าแนะน�า
ในคดีความผดการตกลงร่วมกนมกเกิดจากการตกลงกันระหว่างค่กรณเป็นการภายใน
ู
ั
ั
ี
ิ
แบบลับทําให้มีอุปสรรคต่อการสืบสวนและรวบรวมพยานหลักฐานโดยตรงของคณะกรรมการ
ิ
ี
การแข่งขันทางการค้าโดยเฉพาะอย่างย่งในบางกรณีอาจมีการอาศัยเทคโนโลยีท่รุดหน้า อาทิเช่น
อัลกอริทึมของคอมพิวเตอร์ ปัญญาประดิษฐ์ ฯลฯ เป็นเครื่องมือที่ช่วยในการกระทําความผิด
ื
ทําให้การสืบสวนสอบสวนเพ่อหาพยานหลักฐานในคดีความผิดการตกลงร่วมกันทวีความ
ึ
ิ
ี
ซับซ้อนและเป็นไปได้ยากมากย่งข้นหรือในบางกรณีอาจไม่ปรากฏหลักฐานโดยตรงท่จะ
ดําเนินคดีกับคู่กรณีได้
บทความฉบับดังกล่าวได้กล่าวถึงมาตรฐานการยอมรับพยานแวดล้อมในคดีความผิด
ั
ี
ั
ั
การตกลงร่วมกันท้งในช้นคณะกรรมการการแข่งขันทางการค้าและช้นศาลของประเทศญ่ปุ่น
ั
ี
อินโดนีเซียและประเทศเกาหลีใต้ ท้งน้จะเห็นได้ว่าพยานแวดล้อมได้ถูกนํามาใช้ในช้น
ั
คณะกรรมการแข่งขันทางการค้าทั้ง 3 ประเทศ แต่ในส่วนการรับฟังในชั้นศาลนั้นยังมีข้อจํากัด
ื
โดยมีเพยงศาลประเทศญ่ป่นเท่าน้นทยอมรับการรับฟังพยานแวดล้อมโดยลําพังเพ่อเอาผิด
ี
่
ุ
ี
ี
ั
ั
ี
ึ
ในคดีการตกลงร่วมกันซ่งมีโทษทางอาญา ท้งน้ พฤติการณ์ในปัจจุบันอาจสลับซับซ้อนข้น
ึ
ในกรณีการตกลงร่วมกันโดยอาศัยอัลกอลิทึมในการกระทําความผิด อีกท้งการใช้โปรแกรม
ั
การตรวจสอบราคา (price monitoring program) นั้นได้ถูกใช้อย่างแพร่หลายในปัจจุบัน
212