Page 132 - นิตยสารดุลพาห เล่มที่ ๑-๒๕๖๑-กฎหมายฯ
P. 132

´ØžÒË





                 ผูถูกกลาวหาไดยายออกจากอาคารที่พักดังกลาว การที่จะมาพบเจอกับเพื่อนบานที่เปน
                 คูกรณีก็สามารถหลีกเลี่ยงไดดวยการออกขอกําหนดของศาลหามการกระทําดังกลาวของ

                 ผูถูกกลาวหา ดังนั้น การขังในกรณีนี้จึงไมใชสิ่งที่จําเปน

                         ๓.  หลักสัดสวน


                         การขังระหวางสืบสวนสอบสวน หมายถึง การรุกลํ้าเขาไปในสิทธิขั้นพื้นฐาน
                 ของประชาชน เชนเดียวกับกรณีของกฎหมายไทย การรุกลํ้าดังกลาวที่อาศัยบทบัญญัติ
                 ของกฎหมาย – ในที่นี้คือประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา – เปนฐานนั้นก็อยูภายใต

                 ขอจํากัดตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ กลาวคือ ภายใตหลักสัดสวน ดังนั้น ในการออกหมายขัง
                 ระหวางสืบสวนสอบสวนของผูพิพากษาเงื่อนไขประการที่สามที่จะถูกนํามาพิจารณาก็คือ

                 ตองพิจารณาวาการออกหมายขังดังกลาวเปนไปตามหลักสัดสวนหรือไม ซึ่งสิ่งนี้แมจะเปน
                 ไปตามหลักกฎหมายรัฐธรรมนูญแตก็มีบัญญัติไวอยางชัดแจงในมาตรา ๑๑๒ (๑) ประโยค

                 ที่สอง ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ดังนั้น จึงไมอาจที่จะออกหมายขังระหวาง
                 สืบสวนสอบสวนหากวาการออกหมายขังจะไมไดสัดสวนกับความสําคัญของเรื่องและโทษ

                 ที่คาดวาจะไดรับ

                         สําหรับขอเท็จจริงในบางกรณีซึ่งมีความเกี่ยวของกับเหตุแหงการออกหมายจับ
                 ในกรณีของการหลบหนีและการจะไปยุงเหยิงกับพยานหลักฐาน มาตรา ๑๑๓ ไดบัญญัติ

                 มาตรฐานของการใชหลักสัดสวนใหชัดเจนขึ้น กลาวคือ การขังระหวางสืบสวนสอบสวน
                 ในกรณีของการจะไปยุงเหยิงกับพยานหลักฐาน ไมอาจกระทําไดและการขังระหวางสืบสวน

                 สอบสวนในกรณีของเหตุแหงการหลบหนีสามารถกระทําไดภายใตเงื่อนไขบางประการ
                 เทานั้น หากวาการกระทําความผิดดังกลาวจะไดรับโทษจําคุกไมเกิน ๖ เดือน หรือปรับ

                 ไมเกิน ๑๘๐ วัน

                         หลักสัดสวนเปนหลักกฎหมายที่แรกเริ่มพัฒนามาจากกฎหมายตํารวจของเยอรมัน

                 ซึ่งตามหลักกฎหมายรัฐธรรมนูญในปจจุบันถือวา การใชอํานาจรัฐในเยอรมันในทุกๆ กรณี
                 จะตองเปนไปตามหลักสัดสวนและในระหวางนี้หลักสัดสวนก็ไดกลายเปนสวนสําคัญของ
                 กฎหมายแหงสหภาพยุโรป ทั้งในสวนของกฎหมายอาญาและกฎหมายวิธีพิจารณาความ

                 อาญา ขอพิจารณาของหลักสัดสวนตองพิจารณาเปน ๔ ลําดับที่แยกพิจารณาออกจากกัน
                 ในประการแรกทุกมาตรการที่เปนการจํากัดสิทธิขั้นพื้นฐานจะตองมีเปาหมายที่ชอบดวย







                 มกราคม - เมษายน ๒๕๖๑                                                       ๑๒๑
   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137