Page 47 - นิตยสารดุลพาห เล่มที่ ๑-๒๕๖๑-กฎหมายฯ
P. 47

´ØžÒË





              สํานักงานศาลยุติธรรมเปนหนวยธุรการ ทําการวางแนวทางวาควรจะเปนลักษณะใด

              ในทางวิชาการ สุดทายก็เปนเรื่องของการดําเนินการ ทานกําพลไดอธิบายถึงโครงการ EM
              ในทางกฎหมายจะตองมีการประเมินผลตรากฎหมายออกมาเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
              ซึ่งใชภายในสามปนับจากกฎหมายใชบังคับ ครบกําหนดคือเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๑

              ซึ่งตองมีการประเมินไปถึงความคุมคาตางๆ ปจจุบันมีการใชเพียง ๑๘๐ กวาเครื่อง ทานกําพล

              เห็นวาทิศทางแนวโนมจะเปนเชนไรตอไปจะสามารถดําเนินการในจํานวน ๕,๐๐๐ เครื่อง
              ที่ไดรับจัดสรรอยางไร และในการประเมินผลนั้นควรจะประเมินในมิติใด


                     นายกําพล รุงรัตน : ในเรื่องการประเมินผลหลังจากที่มีการประกาศใชกฎหมาย

              มาตรา ๑๐๘ ใหประเมินหลังจากประกาศใชแลว ๓ ป แตกระบวนการโดยแทจริงเริ่มตน
              ดวยการกําหนด TOR รวมทั้งรูปแบบของอุปกรณ รูปแบบของคําสั่งหรือคูมือตางๆ ซึ่งใช

              ระยะเวลายาวนาน จึงทําใหเกิดความลาชาในการเปดใช แมในสวนของการจัดซื้อจัดจาง
              การสงมอบอุปกรณคือ ๖๐ วัน การจัดซื้อจัดจางงวดแรก เมื่อนําอุปกรณไปทดสอบ พบวา
              มีนํ้าเขาอุปกรณทั้งสามบริษัทที่รวมประมูลตองทําการประมูลใหม ทําใหในระยะเวลา ๓ ป

              ที่ผานมาไมสามารถทําการประเมินตามระยะเวลาที่รัฐบาลกําหนดได รัฐบาลใหเวลา ๓ ป
              ใหงบประมาณมา ๓ ป ปหนาสงงบประมาณมาแลวอยูที่ ๑๗๘ ลานบาท ที่จะเพิ่มอุปกรณ

              EM เขาไป ตอนนี้ตนเองมิไดทําหนาที่ในสํานักงานศาลยุติธรรม แตออกมาทําอีกหนาที่หนึ่ง
              ในความเห็นสวนตัวเห็นวาเจตนารมณของรัฐบาลใหประเมินหลังจากมีการใชแลว ๓ ป

              หากใหพิจารณาตีความเขาขางตนเองคือเริ่มตนนับหนึ่งปวันที่ ๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
              เมื่อครบ ๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ จะประเมินอีกครั้งหนึ่งโดยประเมินในมิติของผูที่ใชหรือผูตองหา

              ในประเด็นความรูสึกเกี่ยวกับอุปกรณ ความสะดวกในการใช การติดตั้ง มิติของผูพิพากษา
              มีความคิดอยางไร มิติของเจาหนาที่ รวมทั้งมิติของสังคมและประเมินในรูปลักษณของ
              อุปกรณประเมินในทุกมิติเพื่อพัฒนาปรับปรุงอุปกรณใหสอดคลองกับการใชงาน ขณะเดียวกัน

              ก็ตองพิจารณาความคุมคาของงบประมาณ รูปแบบของกระบวนการทํางาน แตเดิมนั้น
              ศูนย EM เปนสวนหนึ่งของสํานักสงเสริมงานตุลาการ สํานักงานศาลยุติธรรมพิจารณาให

              แยกเปนกองเฉพาะออกมา มีหนาที่ควบคุมบริหารดวยตนเอง นอกจากนี้มีกรรมการพิจารณา
              กําหนดแนวทางโดยบริหารจัดการศูนย EM ขึ้นมาอีกชุดหนึ่ง มีผูพิพากษาเปนประธาน

              คณะกรรมการ จะเห็นไดวาสํานักงานศาลยุติธรรมไมไดนิ่งเฉย เพราะตองมีการประเมิน
              ในหลายมิติ โดยเฉพาะความคุมคา เมื่อประเมินแลวทางสํานักงานศาลยุติธรรมจะทําการ

              เสนอรายงานตอรัฐบาลเพื่อที่จะนํามาใชในระยะยั่งยืนตอไปและเพื่อจะใชในทุกๆ ศาล




              ๓๖                                                              เลมที่ ๑ ปที่ ๖๕
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52