Page 48 - นิตยสารดุลพาห เล่มที่ ๑-๒๕๖๑-กฎหมายฯ
P. 48

´ØžÒË





                        นายศุภกิจ แยมประชา : ผมไมแนใจวาคณะรัฐมนตรีจะเห็นเชนนั้นหรือไม เพราะ
                 กฎหมายระบุวาประเมินผลใน ๓ ป นับแตกฎหมายใชบังคับ แตเหตุผลควรจะเปนตามที่

                 ทานกําพลกลาวมา คือศาลยังไมไดใช หากจะประเมินในปนี้ก็จะไมไดขอมูลอะไร แตถาอาน
                 รายงานการประชุมเมื่อพิจารณาออกกฎหมายฉบับดังกลาว เหตุผลหลักที่ใชในการประเมิน คือ

                 พิจารณาในแงที่วาในอนาคตอาจตองมีการเก็บคาติดตั้งอุปกรณจากผูไดรับการปลอยชั่วคราว
                 เพราะในหลายประเทศปฏิบัติเชนนี้ มีแนวคิดวาประเมินจุดนี้จะคุมคาหรือไม ซึ่งในเชิง

                 แนวคิดจะไมคอยถูกตองเทาไหร มีประเทศเปนสวนนอยที่มีการเรียกเก็บเงินในลักษณะนี้
                 ในเรื่อง EM เปนอยางที่ทานกําพลเนนยํ้าคือ ขอจํากัดของอุปกรณ เมื่อติดตั้งแลวทําให
                 ทราบความเคลื่อนไหวการเดินทางของผูตองหาหรือจําเลย สามารถจํากัดการเดินทางได

                 แตวาไมชวยปองกันการหลบหนี ถาจะหนีก็หนีไดหรือในขณะใส EM อยูถาจะกระทํา
                 ความผิดซํ้าก็สามารถทําได เพียงแตโอกาสที่จะหลบหนีและโอกาสที่ศาลจะทราบก็ยังมี

                 สวนเรื่องมาตรการในการติดตามก็คงตองมีการพัฒนาตอไปซึ่งก็จะเชื่อมโยงกับมาตรการในการ
                 ติดตามตางๆ การกํากับดูแลผูที่หลบหนีซึ่งทานมุขเมธินไดอธิบายทิ้งทายเอาไว กอนจะไปถึง

                 เรื่องมาตรการการกํากับดูแลตางๆ ซึ่งในชวงตนทานมุขเมธินไดอธิบายถึงเรื่องมาตรการและ
                 เครื่องมือตางๆ ที่ไดไปศึกษามาจากตางประเทศ เชน วอชิงตันดี.ซี. สรางเครื่องมือประเมิน

                 ความเสี่ยงมาจากการวิเคราะหคดีประมาณ ๖ ลานคดี แตประเทศไทยพอเริ่มทํานักวิจัย
                 ไดขอมูลจากคดีประมาณพันคดี มีประเด็นในเรื่องความมั่นใจในตัวเครื่องมือที่สรางขึ้นมา

                 คือฐานขอมูลที่มีคอนขางจํากัด ทานกลาวถึงวามีปจจัยเสี่ยงที่นักวิจัยคิดขึ้นมามี ๑๔ ปจจัย
                 มีความนาเชื่อถือกวารอยละ ๙๐ สวนตัวยังไมเห็นภาพและผูเขารวมการสัมมนาอาจรูสึก

                 เหมือนคลายกัน ปจจัยจํานวน ๑๔ ปจจัยมีอะไรบาง ปจจัยเสี่ยงที่ใชประเมินคือปจจัยอะไร
                 และตางจากที่ทานผูพิพากษาทานใชอยางไร มีความนาเชื่อถือมากกวาอยางไร เนื่องจาก

                 ไมทราบวารายงานวิจัยเปนอยางไร ในฐานะที่ทานเคยไดพิจารณาและวิเคราะหแลว ขอทาน
                 แลกเปลี่ยนวาเครื่องมือสรางขึ้นมาไดอยางไร มีความนาเชื่ออยางไรและจากที่ปจจัยเสี่ยงตางๆ

                 มาสูคะแนนความเสี่ยงสูง สูงมาก ตํ่า ตํ่ามาก มาไดอยางไร วิธีการคํานวณ ตอนนี้ไมวา
                 ในเรื่องประเมินความเสี่ยงก็ดี หรือในเรื่อง EM ก็ดี กําลังอยูในชวงพิสูจนตัวเอง พิสูจน

                 ความนาเชื่อถือของนวัตกรรมทั้งสองตัวนี้ใหสังคมทราบและใหผูใชทานทราบ


                        นายมุขเมธิน  กลั่นนุรักษ : ในสวนของเครื่องมือประเมินความเสี่ยงไดมีการใช

                 ขอมูลจาก ๑,๑๔๘ สํานวน เนื่องจากวาขอจํากัดในการหาขอมูล แตอยางไรก็ตาม
                 ตามขอมูลของสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตรที่ไดศึกษาขอมูลจากกลุมตัวอยาง ทําใหเชื่อวา




                 มกราคม - เมษายน ๒๕๖๑                                                        ๓๗
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53