Page 49 - นิตยสารดุลพาห เล่มที่ ๑-๒๕๖๑-กฎหมายฯ
P. 49

´ØžÒË





              ขอมูลจํานวนนี้เพียงพอแลวที่จะใหผลเบื้องตนในการสรางแบบประเมินมีความนาเชื่อถือ

              พอสมควร เพราะเมื่อนําขอมูลมาวิเคราะหทางสถิติไดตัวเลขที่นาเชื่อถือในการระบุความ
              แตกตางกันได ประการตอมาคือการใชเครื่องมือทดสอบและทดลอง ในการทดลองหนึ่งป
              ที่ผานมาสามารถยืนยันไดวาขอมูลที่ใชในการปลอยตัวชั่วคราวมีความเที่ยงตรงอยูมากกวา

              รอยละ ๙๐ ซึ่งเปนตัวเลขที่ยอมรับได ในอนาคตอาจตองมีการประเมินตัวเครื่องมือประเมิน

              ความเสี่ยงนี้ตลอดเวลาวาควรมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม ในตางประเทศมีการทําแบบประเมินใหม
              ทุกๆ สองถึงสามป ในประเทศสหรัฐอเมริกาการทําแบบประเมินความเสี่ยงนั้น หลายมลรัฐ
              จะดําเนินการจัดทําเอง เพราะขอเท็จจริงในการหลบหนีของรัฐแคลิฟอรเนียอาจตางจาก

              รัฐไวโอมมิ่ง เมืองที่เปนชนบทยอมมีความแตกตางจากเมืองใหญ นักวิจัยไดทําการศึกษา

              ทํานองนั้นเชนกัน โดยการใชกลุมตัวอยาง ๕ จังหวัด เมืองที่เปนเมืองใหญอยางเชียงใหม
              นครศรีธรรมราช จันทบุรี หรือกาฬสินธุ มีสภาพเปนเมืองใหญเมืองเล็ก ภาคเหนือหรือ
              ภาคใตมีคนแตกตางกัน ขอมูลที่ไดยอมนาเชื่อถือพอสมควรวาสามารถใชได

                     ใน ๑๔ ปจจัยคนพบอะไรบาง โดยแทจริงแลว ๑๔ ปจจัยเปนเรื่องของ Common
              Sense เหมือนกัน  แตผลจากการวิเคราะหขอมูลจากพันกวาสํานวนเราคนพบขอมูลอยางหนึ่ง

              วาอัตราโทษสูงกวากันไมไดหมายความวาจะหลบหนีมากกวา ไดมีการแบงชวงความผิด

              ออกเปนโทษจําคุกหาป สิบป ยี่สิบป ตลอดชีวิต หรือประหารชีวิต ปรากฏวาอัตราการหนี
              ไมคงเสนคงวาตามอัตราโทษ นี่คือขอมูลเกา จากขอมูลเดิมนั้น เงินประกันมากหรือนอย
              ไมไดหมายความวาจะไมหลบหนี ซึ่งไมไดเปนปจจัยที่จะบงชี้ชัดเจน แมหลักทรัพยประกันตัว

              จํานวนสามสิบลานก็ยังหลบหนีได ตัวเลขการหลบหนีไมสัมพันธกับจํานวนเงินที่เปนหลักประกัน

              ซึ่งเปนขอคนพบหนึ่งในการวิจัย แตในงานวิจัยที่กลาวถึง ๑๔ ปจจัยที่คนพบคือวาประวัติ
              การกระทําความผิด ประวัติการหลบหนีเปนปจจัยเสี่ยงตอการหลบหนี ความผูกพัน
              ตอทองถิ่นคนที่อยูในทองถิ่น โดยมีบานเรือนและครอบครัว หรือผูที่ตองอุปการะอยูใน

              ทองที่โดยปกติจะไมหลบหนีซึ่งเปนขอมูลที่คนพบ หากเปรียบเทียบระหวางคนไทยกับคน

              ตางดาว คนตางดาวมีโอกาสหนีมากกวา และหากเปรียบเทียบระหวางคนตางดาวดวยกัน
              ผูที่ไดรับอนุญาตใหอยูในราชอาณาจักรอยางถาวรจะมีอัตราการหนีนอยกวาผูที่ไมไดรับ
              อนุญาตใหอยูในราชอาณาจักรอยางถาวร เชน นักทองเที่ยวจะมีโอกาสหลบหนีคอนขางมาก

              ซึ่งปจจัยพวกนี้อาจเปน Common Sense ที่ผูพิพากษาอาจนึกได แตสิ่งที่งานวิจัยแสดง

              ใหเห็นผลมากคือ การบงบอกนํ้าหนักความแตกตางระหวางปจจัย ปจจัยใดเปนขอสําคัญ
              เราอาจทราบวาผูที่มีประวัติการกระทําความผิดจะมีความเสี่ยงที่จะหลบหนี แตจะไมทราบถึง




              ๓๘                                                              เลมที่ ๑ ปที่ ๖๕
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54