Page 9 - นิตยสารดุลพาห เล่มที่ ๑-๒๕๖๑-กฎหมายฯ
P. 9

ราชกิจจานุเบกษาแลวเมื่อวันที่ ๖ เมษายน ๒๕๖๑ บทความแรกเรื่อง การพัฒนาระบบ

              การสอบสวนในคดีทุจริตและประพฤติมิชอบใหเปนไปในทิศทางเดียวกับการพิจารณาคดี
              ในระบบไตสวน โดยศาสตราจารย ณรงค ใจหาญ และคณะ นําเสนอสรุปผลรายงานวิจัย

              เกี่ยวกับการปรับปรุงระบบการสอบสวนในคดีทุจริตและประพฤติมิชอบซึ่งอาจยังไมสอดคลอง
              กับกระบวนการในชั้นศาลที่เปนระบบไตสวน บทความเรื่อง ปญหาหนี้ภาษีอากรในคดี

              ลมละลาย โดยศาสตราจารยพิเศษ ชัยสิทธิ์ ตราชูธรรม นําเสนอประเด็นขอกฎหมายตางๆ

              ที่อาจเกิดขึ้นเมื่อผูมีหนี้ภาษีอากรถูกฟองลมละลาย ถูกพิทักษทรัพยเด็ดขาดหรือถูกพิพากษา
              ใหลมละลาย ซึ่งในแงมุมของการปรับปรุงกฎหมายลมละลายและกระบวนการยุติธรรมทางแพง

              เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแขงขันของประเทศ นอกจากจะเปนทิศทางตามยุทธศาสตรชาติและ
              แผนการปฏิรูปประเทศแลว ยังอยูในกรอบการประเมินความยากงายในการประกอบธุรกิจของ

              ธนาคารโลกอีกดวย บทความเรื่อง ความยากงายในการประกอบธุรกิจกับการปรับตัว
              และโอกาสการพัฒนาของศาลยุติธรรม ของ ดร. สุธาทิพย จุลมนต ทัศนชัยกุล จึงนําเสนอ

              มุมมองในเชิงยุทธศาสตรของศาลยุติธรรมวาเมื่อมีขอเรียกรองใหมีการปรับปรุงกระบวนการ
              ทํางานของศาลใหตอบสนองตอการประเมินหรือตัวชี้วัดในระดับระหวางประเทศ ศาลยุติธรรม

              ควรมีทาทีอยางไร

                     กลุมบทความอีก ๔ บทความตอไปที่เกี่ยวของกับกระบวนการยุติธรรมทางอาญา

              ลวนมีความเชื่อมโยงกับประเด็นการปฏิรูปตามแผนการปฏิรูปประเทศดานกระบวน
              การยุติธรรมทั้งสิ้น บทความแรกเปนบทความแปลเรื่อง การขังในระหวางการสืบสวนสอบสวน

              และหลักเกณฑการรองขอในเรื่องดังกลาวในนิติรัฐ - ภาพกวางของบทกฎหมายใน

              ประเทศสหพันธสาธารณรัฐเยอรมัน ของ Ajarn Henning Glaser แปลโดย ดร. สุรสิทธิ์
              แสงวิโรจนพัฒน ซึ่งนําเสนอหลักเกณฑการขังระหวางสืบสวนสอบสวนตามกฎหมายของ

              ประเทศเยอรมนี ที่นาสนใจและอาจแตกตางจากสิ่งที่นักกฎหมายไทยคุนเคยคือการนําเสนอ
              มุมมองวาการขังกับการปลอยชั่วคราวนั้นเปนกระบวนการเดียวกัน โดยเหตุตามกฎหมาย

              และหลักที่ศาลตองใชพิจารณาคือหลักเกณฑเดียวกัน จึงนาจะเปนประโยชนตอการปรับปรุง
              กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาของไทยในเรื่องนี้ตอไปในอนาคต เชนเดียวกับบทความเรื่อง
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14