Page 10 - นิตยสารดุลพาห เล่มที่ ๑-๒๕๖๑-กฎหมายฯ
P. 10

เปรียบเทียบหลักเกณฑการปลอยชั่วคราวโดยศาลตามกฎหมายสกอตแลนดและกฎหมายไทย
                 โดย ดร. ศุภกิจ แยมประชา ซึ่งนําเสนอมุมมองตามกฎหมายสกอตแลนด และเสนอหลัก

                 กฎหมายเกี่ยวกับการปลอยชั่วคราวซึ่งอาจยังไมปรากฏในกฎหมายไทย

                        สองบทความสุดทาย ผูชวยศาสตราจารยพิเศษ ดร. อุทิศ สุภาพ นําเสนอบทความ

                 เรื่อง การปองกันอาชญากรรมโดยการลดชองโอกาสในการตกเปนเหยื่อ เพื่อชี้ใหเห็นวา
                 ภารกิจในการปองกันอาชญากรรมนั้นอาจไมใชของหนวยงานของรัฐในกระบวนการยุติธรรม

                 เพียงอยางเดียว แตชุมชนสามารถมีสวนรวมได ดวยการปรับปรุงสภาวะแวดลอมเพื่อลด

                 ชองโอกาสของการเกิดอาชญากรรม สวนบทความเรื่อง ดุลยพินิจและมาตรฐานการลงโทษ
                 ในคดีตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและ
                 ครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ โดยทานวีณา อนันตสมบูรณ และทานสิริสิทธิ์ อนันตสมบูรณ

                 นําเสนอสภาพปญหาการลงโทษเด็กหรือเยาวชนวายังขาดหลักเกณฑที่ชัดเจนและอาจเกิด

                 ปญหาความไมเทาเทียมกันในการลงโทษ จึงเสนอแนะใหมีการจัดทําแนวทางการกําหนดโทษ
                 (sentencing guidelines) สําหรับกรณีดังกลาว


                        คอลัมนประจําฉบับนี้ยังคงอัดแนนดวยสาระเชนเดิม เริ่มดวยฎีกาที่นาสนใจ โดยทาน
                 เผาพันธ ชอบนํ้าตาล วิเคราะหแนวทางการตีความกฎหมายของศาลฎีกาเพื่อใหเกิดความ

                 เปนธรรมในบริบทของเรื่องการถอนทะเบียนบริษัทราง ที่มีการแกไขกฎหมายในป ๒๕๕๑
                 สัมผัสคดีดังตางประเทศ โดยทานยิ่งรัก อัชฌานนท นําเสนอมุมมองเชิงเปรียบเทียบเกี่ยวกับ

                 การยกเลิกโทษประหารชีวิตในฝรั่งเศสและนักโทษคนสุดทายในฝรั่งเศสที่ถูกตัดสิน
                 ประหารชีวิต แตไมถูกประหารชีวิตจริง สวนบทแนะนําหนังสือฉบับนี้มีหนังสือแนะนําถึง ๕

                 เลมดวยกัน เลมแรก ดร. ศุภกิจ แยมประชา แนะนําหนังสือ Trial and Error in Criminal

                 justice Reform : Learning from Failure เพื่อนําเสนอบทเรียนจากการปฏิรูปกระบวนการ
                 ยุติธรรมสหรัฐอเมริกาอันอาจเปนประโยชนตอการขับเคลื่อนการปฏิรูปของประเทศไทย

                 ทานธัญญานุช ตันติกุล แนะนําหนังสือ ๔ เลมคือ Misbehaving, Nudge, Thinking, Fast
                 and Slow และ Predictably Irrational เพื่อนําเสนอมุมมองทางจิตวิทยาเกี่ยวกับอคติจาก
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15