Page 96 - คู่มือปฏิบัติงานศาลอาญาคดีทุตจริตฯ
P. 96

คู่มือการปฏิบัติงานศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบ
                                                                                                        | 85



                                3. การแสดงตนพร้อมกับการยื่นฎีกา

                                      3.1 ในการยื่นค าร้องขออนุญาตฎีกาของจ าเลยซึ่งไม่ได้ถูกคุมขัง จ าเลยต้อง

                     มาแสดงตนต่อเจ้าพนักงานศาล (ข้อบังคับของประธานศาลฎีกาฯ ข้อ ๒๗)

                                      3.2 การสั่งของผู้พิพากษาให้สั่งเช่นเดียวกับกรณีการยื่นอุทธรณ์

                                      3.3 การสั่งค าร้องขออนุญาตขยายระยะเวลาใด ๆ ในชั้นฎีกา ศาลอาญา


                     คดีทุจริตฯ มีอ านาจสั่งอนุญาตได้ แต่หากเห็นว่าไม่สมควรอนุญาตต้องส่งศาลฎีกาสั่ง (ข้อบังคับ

                     ของประธานศาลฎีกาฯ ข้อ ๓๑)



                     4. การส่งส าเนาฎีกา


                                เมื่อศาลฎีกามีค าสั่งอนุญาตให้ฎีกาและรับฎีกาทั้งหมดหรือบางข้อไว้พิจารณาแล้ว

                     จะส่งค าสั่งให้ศาลชั้นต้นอ่านให้คู่ความฟัง (ข้อบังคับของประธานศาลฎีกาฯ ข้อ ๓๖ วรรคหนึ่ง)


                                กรณีที่ศาลอาญาคดีทุจริตฯ พิพากษายกฟ้องในชั้นตรวจฟ้อง และศาลอุทธรณ์

                     พิพากษายืน ไม่จ าต้องส่งส าเนาให้จ าเลยเพื่อแก้ฎีกา (ข้อบังคับของประธานศาลฎีกาฯ ข้อ ๓๖

                     วรรคสอง)



                     5. กรณีศาลฎีกามีค าสั่งไม่รับฎีกา


                                ให้ออกหมายจ าคุกเมื่อคดีถึงที่สุดในวันที่อ่านหรือถือว่าได้อ่านค าสั่งไม่รับฎีกา ส่วน


                     ในกรณีที่ไม่มีการฎีกาและขออนุญาตฎีกา ให้ออกหมายจ าคุกเมื่อคดีถึงที่สุดในวันที่ครบก าหนด

                     ๑ เดือน นับแต่วันที่อ่านหรือถือว่าได้อ่านค าพิพากษาศาลอุทธรณ์แผนกคดีทุจริตฯ แต่ถ้ามีการ

                     ขอขยายระยะเวลาฎีกา ให้ออกหมายจ าคุกเมื่อคดีถึงที่สุดในวันที่ครบก าหนดขยายระยะเวลา

                     ฎีกา (ตาม พ.ร.บ. วิ. ทุจริตฯ มาตรา ๔๖ วรรคสาม และฎีกาที่ ๔๐๙๕/๒๕๖๐)


                                      หมายเหตุ


                                      แม้คดีทุจริตฯ และคดียาเสพติด กฎหมายจะก าหนดให้คดีถึงที่สุดในชั้นอุทธรณ์

                     เหมือนกัน แต่การออกหมายจ าคุกเมื่อคดีถึงที่สุดในกรณีที่ศาลฎีกามีค าสั่งไม่รับฎีกามีความ

                     แตกต่างกัน เนื่องจาก พ.ร.บ. วิ. ทุจริตฯ มาตรา ๔๖ วรรคสาม ก าหนดให้คดีถึงที่สุดในวันที่อ่าน
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101